1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare)...

50
บทที1 สงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบ 1. กลาวทั่วไป เคลาเซวิทซ ไดกลาวพรรณาถึง " สงครามประชาชน " - (People's war) ไวในหนังสือเรื่อง " สงคราม " (On War) ของเขา ดังนีสงครามประชาชน เปนปรากฎการณอยางหนึ่งของโลกยุคสมัยคริสตศตวรรษที19 นี้เองโดยมีคู สงครามเปนผูสนับสนุนสงครามฝายหนึ่ง กับคูปรปกษในสงครามอีกฝายหนึ่ง ดวยทัศนะทางการเมือง ฝายหลังมองวา สงครามประชาชนก็คือ วิธีกอการปฏิวัติวิธีหนึ่ง หรือ นัยหนึ่ง สถานการณฉุกเฉินที่ระบอบอนาธิปไตยถูกอางวาคืออํานาจ ซึ่งเปนภัยตอความสงบเรียบรอย ในสังคมของบานเมืองเทา กับเปนอันตรายตอศัตรูผูสนับสนุนสงครามเองดวย หรือในทัศนะทาง ทหาร ฝายหลังเชื่อวาถาตองใชกําลังทหารในสงครามนีผลลัพธที่ไดยอมไมคุมคา สําหรับทัศนะเปนการปฏิวัติทางการเมืองนั้น ยอมไมเกี่ยวกับทหารแนนอน แตในฐานะที่เปน นักรบของชาติ ทหารยอมมองสงครามประชาชนเปนเพียงแควิธีการหนึ่งของการตอสูเทานั้น ฉะนั้น เมื่อเปนการตอสู ก็ยอมตองมีหรือเกี่ยวโยงไปถึงขาศึกผูเปนศัตรูรวมอยูดวย แตถาตามทัศนะประการหลัง เราจะตองมองสงครามประชาชนในมุมกวาง โดยถือวาเปนผลลัพธ อันเนื่องมาจากการรูจักเลือกหยิบเอาเฉพาะลักษณะอันรายกาจของสงครามมาใชประโยชนดวยวิธีการ ของโลกยุคใหมอยางทุกวันนีนั่นคือการโหมเหตุความปนปวนใหลุกลามและเลวรายเพื่อสรางความ วุนวายใหหนักขึ้นขนาดที่เรียกไดวาเปน สงคราม เคลาเซวิทซ เปนบุคคลคนแรกที่พยายามประมวลเอาลักษณะของ สงครามกองโจรกับสงคราม กอความไมสงบ (guerrilla warfare and insurgent war) มาปะติดปะตอเขาดวยกัน แมเคลาเซวิทซได เลงเห็นสรรพคุณของ " สงครามประชาชน " มาอยา'ทะลุปุโปรงแลวก็ตาม แตก็เปนที่สงสัยกันวาเขาจะ ลวงรูถึงผลกระทบอันเกิดจากสิ่งนี้ในอนาคตขางหนาบางหรือไม ในรอบปที่ผานมา มีคําและขอความที่ใชเรียกขื่อตามลักษณะของสงครามกองโจรและสงครามกอ ความไมสงบแบบตาง หลายตอหลายคํา อาทิเชน - การปฏิบัติการกอเหตุไมสงบ (insurgency operations) - สงครามไมตามแบบ (irregular warfare) - สงครามพลพรรค (partisan wafare) - การปฏิบัติการแบบทหาร (paramilitary operations) - สงครามภายใน (internal war)

Transcript of 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare)...

Page 1: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

บทที่ 1 สงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบ

1. กลาวทั่วไป เคลาเซวิทซ ไดกลาวพรรณาถึง " สงครามประชาชน " - (People's war) ไวในหนังสือเร่ือง " สงคราม " (On War) ของเขา ดังนี้ สงครามประชาชน เปนปรากฎการณอยางหนึ่งของโลกยุคสมัยคริสตศตวรรษที่ 19 นี้เองโดยมีคูสงครามเปนผูสนับสนุนสงครามฝายหนึ่ง กับคูปรปกษในสงครามอีกฝายหนึ่ง ดวยทัศนะทางการเมือง ฝายหลังมองวา สงครามประชาชนก็คือ วิธีกอการปฏิวัติวิธีหนึ่ง หรือนัยหนึ่ง สถานการณฉุกเฉินที่ระบอบอนาธิปไตยถูกอางวาคืออํานาจ ซ่ึงเปนภัยตอความสงบเรียบรอยในสังคมของบานเมืองเทา ๆ กับเปนอันตรายตอศัตรูผูสนับสนุนสงครามเองดวย หรือในทัศนะทางทหาร ฝายหลังเชื่อวาถาตองใชกําลังทหารในสงครามนี้ ผลลัพธที่ไดยอมไมคุมคา สําหรับทัศนะเปนการปฏิวัติทางการเมืองนั้น ยอมไมเกี่ยวกับทหารแนนอน แตในฐานะที่เปนนักรบของชาติ ทหารยอมมองสงครามประชาชนเปนเพียงแควิธีการหนึ่งของการตอสูเทานั้น ฉะนั้น เมื่อเปนการตอสู ก็ยอมตองมีหรือเกี่ยวโยงไปถึงขาศึกผูเปนศัตรูรวมอยูดวย แตถาตามทัศนะประการหลัง เราจะตองมองสงครามประชาชนในมุมกวาง โดยถือวาเปนผลลัพธอันเนื่องมาจากการรูจักเลือกหยิบเอาเฉพาะลักษณะอันรายกาจของสงครามมาใชประโยชนดวยวิธีการของโลกยุคใหมอยางทุกวันนี้ นั่นคือการโหมเหตุความปนปวนใหลุกลามและเลวรายเพื่อสรางความวุนวายใหหนักขึ้นขนาดที่เรียกไดวาเปน สงคราม เคลาเซวิทซ เปนบุคคลคนแรกที่พยายามประมวลเอาลักษณะของ สงครามกองโจรกับสงครามกอความไมสงบ (guerrilla warfare and insurgent war) มาปะติดปะตอเขาดวยกัน แมเคลาเซวิทซไดเลงเห็นสรรพคุณของ " สงครามประชาชน " มาอยา'ทะลุปุโปรงแลวก็ตาม แตก็เปนที่สงสัยกันวาเขาจะลวงรูถึงผลกระทบอันเกิดจากสิ่งนี้ในอนาคตขางหนาบางหรือไม ในรอบปที่ผานมา มีคําและขอความที่ใชเรียกขื่อตามลักษณะของสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบแบบตาง ๆ หลายตอหลายคํา อาทิเชน - การปฏิบัติการกอเหตุไมสงบ (insurgency operations) - สงครามไมตามแบบ (irregular warfare) - สงครามพลพรรค (partisan wafare) - การปฏิบัติการแบบทหาร (paramilitary operations) - สงครามภายใน (internal war)

Page 2: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกลาวในลักษณะตาง ๆ กันเชนนี้ กลับทําใหเกิดความสับสนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากเพียงแตตองการทราบคํานิยามของชื่อนั้น ๆ ก็เร่ิมประสบปญหายุงยากเสียแลว ดังนั้นเพื่อใหเปนมาตรฐานสําหรับการอภิปรายถึงเรื่องของ " สงครามกองโจร " และ " สงครามกอความไมสงบ "นี้ จึงสมควรทําความเขาใจสภาพของสงครามในแบบตาง ๆ ที่อาจเปนประโยชนตอการนี้ไวกอน ซ่ึงไดแกสภาพของสงคราม 3 แบบ คือ - สงครามทั่วไป (general war) - สงครามจํากัด (limited war) - สงครามกอความไมสงบ (insurgent war) คําจํากัดความตามสาระในตํารับเรื่องนี้ของสงครามทั้ง 3 แบบ ดังตอไปนี้ 1. สงครามทั่วไป เปนการตอสูระหวางรัฐบาล 2 ฝาย แตละฝายตางก็มีเปาหมายมุงทําลายลางอีกฝายหนึ่งดวยการทุมเทวิธีการทุกอยางที่ฝายตนจะพึงมีอํานาจนําออกไปใชได แมสงครามโลกครั้งที่ 2 จะถือเปนสงครามทั่วไปในสมัยนั้น สงครามที่คาดวาจะมีการใชอาวุธนิวเคลียรพลังความรอนในกาลปจจุบันนี้ก็ถือเปนสงครามทั่วไปเชนกัน 2. สงครามจํากัด เปนการตอสูกันดวยกําลังติดอาวุธระหวางรัฐบาลเหลานั้น โดยแตละฝายเตรียมใชทรัพยากรในหนทางแตจํากัด เพื่อใหบรรลุเปาหมายในวงจํากัดหรือสามารถรักษาเปาหมายที่ถูกจํากัดวงไว สงครามเกาหลีเปนตัวอยางหนึ่งของสงครามจํากัดในทัศนะของประเทศสหรัฐฯ และประเทศจีนคอมมิวนิสต 3. สงครามกอความไมสงบ เปนลักษณะการตอสูระหวางรัฐบาลปจจุบันที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายรัฐธรรมนูญฝายหนึ่ง กับกองกําลังตอตานรัฐบาลอีกฝายหนึ่ง กองกําลังตอตานรัฐบาลนี้ อาจจัดตั้งขึ้นหรือสนับสนุนโดยรัฐบาลนอกประเทศหนึ่งหรือมากกวา ดวยเปาหมายหลัก คือลมลางรัฐบาลปจจุบัน กรณีพิพาทในคาบสมุทรอินโดจีนและมลายู อาจจัดเปนสงครามกอความไมสงบได สวนสงครามแบบกองโจร อาจมีบทบาทเปนสวนหนึ่งในสงครามแบบใดแบบหนึ่งที่กลาวมาแลวนี้ได สงครามกองโจรนี้ สามารถกําหนดคําจํากัดความได ดังตอไปนี้คือ : " เปนการปฏิบัติทางทหารและอยางเปนทหาร ซ่ึงกระทําในดินแดนของขาศึก หรือในเขตที่ขาศึกยึดครอง โดยกําลังรบนอกแบบหรือกําลังไมตามแบบ (irregular forces) ซ่ึงสวนใหญเปนกําลังในทองถ่ิน " ในสงครามทั่วไป ฝายที่เพล่ียงพลํ้า อาจใชกองกําลังกองโจรเปน " หมากตัวสุดทาย "ภายหลังการถูกทําลายดวยอาวุธนิวเคลียรพลังความรอน หรืออาจใชในบทบาท สนับสนุนกองกําลังทหารประจําการตามแบบ (regular forces) ดังที่สหภาพโซเวียตไดเคยใชมาแลวในสงครามโลกครั้งที่

Page 3: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

32 และเชนเดียวกันกองกําลังกองโจร อาจนําไปใช เพื่อการสนับสนุนในสงครามจํากัดไดดังเชน กองโจรเกาหลี เปนตน สวนในสงครามกอความไมสงบ กองโจรอาจไดรับมอบบทบาทสําคัญ ๆ ในขั้นตอนเริ่มแรกของสงคราม ขณะที่กองกําลังลมลางรัฐบาลนั้นยังไมเขมแข็งพอที่จะเขารุกรบตอกองทัพประจําการตามแบบได อยางไรก็ดี สงครามกอความไมสงบบางแหง อาจดําเนินไปโดยไมจําตองพึ่งพาอาศัยสงครามกองโจรได พจนานุกรมศัพททหาร ไดบัญญัติคําจํากัดความของสงครามกอความไมสงบ ไวดังนี้: เปนการตอสูระหวางรัฐบาลตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ กับพวกกอการไมสงบที่ไดจัดตั้งขึ้นและไดรับการสนับสนุนเปนประจําจากวงภายนอกใหกอการอยางรุนแรงจากวงใน เพื่อตอตานกิจกรรมการเมือง การสังคม การเศรษฐกิจ การทหาร และงานดานพลเรือน ทั้งนี้ดวยจุดมุงหมายเพื่อกอความพินาศใหแกทุกระบบภายในประเทศหรือจนกวาจะโคนลมลงในที่สุด จากคําจํากัดความนี้ จึงเปนที่ประจักษชัดวา สงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบนั้น สามารถนําไปใชในสภาพสิ่งแวดลอมตาง ๆ กันได และอาจใชไดดวยลักษณะวิธีการแบบตาง ๆ ความมุงหมายของเอกสารนี้ คือ ติดตามคนควาความเปนมาแหงวิวัฒนาการของสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบ โดยย้ําใหเห็นถึงการอุทิศความพยายามอันใหญหลวงของบรรดาปรมาจารยตนตํารับชั้นหัวกะทิทั้งหลาย ดังนั้น การสืบสาวราวเรื่องเพื่อวิเคราะหความนึกคิดของบุคคลเหลานั้นใหไดวาพัฒนาขึ้นมาอยางไร การนํามาใชและสวนที่เลิกราไป หรือไดปรับเปลี่ยนกันมาอยางไรใหเปนที่กระจางชัดไดนั้น จําเปนตองบรรยายถึงชีวประวัติของบุคคลผูเปนเจาตํารับลัทธิ นับแตละสมัยของเคลาเซวิทซ เร่ือยมาจนถึงปจจุบัน ภาษิตและประพฤติทุกขอของปรมาจารยเจาตําหรับอันไดแก : เคลาเซวิทซ ( Clausewitz) มารคซ (Marx) เอนเจลส (Engels) เลนิน (lenin) ลอเรนซ (Lawrence) เมาเซตุง (Mao Tse-tung) เก๊ียบ (Giap) เกวารา (Guevara) เดบเร (Debray) และ มาริเกลลา (Marighella)

Page 4: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

4 เหลานี้จะไดนํามาวิเคราะหเพื่อใหเห็นถึง น้ําหนักความสําคัญของหลักเกณฑเหลานั้น ที่มีอิทธิพลตอศิลปอุบายการทําสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบนั้น พรอมกับอภิปรายในแงมุมทางการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา สังคม และแงคิดในทางทหาร รวมทั้งบันทึกขอสังเกตถึงผลดีและผลเสียของการทําสงครามกองโจรในเมือง และในเขตชนบทดวย ในปจจุบันนี้ เนื่องจากอํานาจอันนากลัวของสงครามนิวเคลียรเปนที่ซึมทราบโดยทั่วกันแลว ดังนั้น ก็นาจะคงเหลือแบบของสงครามเพียงสองแบบเทานั้นคือ สงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบ ที่มนุษยจะพึงนํามาใชไดโดยไมตองฆาตัวเองไปพรอม ๆ กันกับการทําลายลางโลก ตามขอมูลในเอกสารนี้ จึงเปนการศึกษาใหเกิดความรอบรูและเขาใจในศิลปและวิธีการปฏิบัติการ เพื่อตอตานการสงครามกอความไมสงบซึ่งนับวามีความสําคัญยิ่งตอทหาร แตกอนที่จะเรียนรูถึงวิธีการตอตานสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบอยางไร จําเปนตองทําความเขาใจในเบื้องตนเสียกอนวาสงครามทั้งสองแบบนี้มีความเกี่ยวของในเรื่องอันใดบาง 2. กําเนิดของสงครามกองโจร โดยทางประวัติศาสตร คําวา "การรบแบบกองโจร" (guerrilla) หรือ "สงครามเบ็ดเตล็ด"(little war) ไดเร่ิมอุบัติขึ้น ณ ประเทศสเปนในระหวาง " สงครามคาบสมุทร " (Peninsula war) อันเปนสงครามนโปเลียนกับอังกฤษในสเปน (1808-1814) เมื่อพวกทหารนอกประจําการและประชาชนชาวสเปนพรอมใจกันลูกฮือข้ึนตอสูกองทหารของนโปเลียน การตอตานครั้งนี้อุบัติขึ้นหลังจากที่ฝร่ังเศสไดชัยชนะตอกองทหารประจําการของกองทัพสเปน จนสามารถเขายึดเมืองและนครหลายแหง แลวบังคับกษัตริยแหงสเปนใหสละราชบัลลังกพรอมกับพยายามเขายึดครองประเทศสเปนทั้งทมด สเปนมีลักษณะภูมิประเทศอุดมไปดวยปาทึบและเทือกเขาสลับซับซอน ถนนและเสนทางคมนาคมมีสภาพเลวอยางพื้นบานแบบโบราณ ดังนั้นทหารจากกองทัพสเปนเดนตายรวมดวยทหารหนีทัพ ชาวฝร่ังเศสและพวกลักลอบขนของเถื่อน จึงฉกฉวยโอกาสจากสภาพการณนี้เขาปฏิบัติการกอกวนทหารฝรั่งเศส ดวยการดักซุมยิงขบวนสัมภาระ ทหารเดินขาวและกองลาดตระเวนขนาดเล็ก เพราะชาวสเปนถือวาฝรั่งเศสเปนคนตางชาติผูบุกรุกและเปนคนนอกศาสนา พลพรรคชาวสเปนผูตอตานซึ่งไดรับความชวยเหลือจากอังกฤษก็เติบโตและแกรงกลาขึ้นตามลําดับ ในขณะที่การตอตานถึงจุดรุนแรงสุดขีดนั้นประมาณกันวากองโจรสามารถสรางความสูญเสียแกกองทหารฝรั่งเศสไดจํานวนถึง 100 คนตอวัน และในไมชาไมนานทหารฝรั่งเศสก็ไมอาจควบคุมทองถ่ินชนบทไวในกํามือไดตอไป เหตุนี้แหละนโปเลียนจึงตองฝนใจใชกองทหารฝรั่งเศสจํานวนมากอยางกระจัดกระจายแทนที่จะมุงนําไปใชในยุโรปตอนกลาง ซ่ึงจะบังเกิดผลดีแกแผนการทัพมากกวา ในที่สุดกองทัพอังกฤษภายใตการนําของแมทัพ คือ นายพลเวลลิงตัน (Wellington) และกองโจรชาวสเปนก็ขับไลทหาร

Page 5: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

5ฝร่ังเศสใหถอยทัพออกไปจากคาบสมุทรไอบีเรีย ทั้งหมดได และก็ดวยเหตุนี้เองที่มีสวนชวยใหการโคนลมจักพรรดิ์ นโปเลียน ลงจากบัลลังกไดเปนผลสําเร็จ ชาวสเปนพรอมใจกันตอสูเพื่อปองกันดินแดนอันเปนมาตุภูมิ และปกปองแนวทางดําเนินชีวิตของพวกตน ซ่ึงโดยธรรมชาติ จุดมุงหมายของชาวสเปน ก็เพียงแคตองการตั้งรับปองกันตน เพียงดวยการกอการรบกวนกองทหารฝรั่งเศสอยางไมขาดระยะ ชาวสเปนก็บั่นทอนกําลังในทหารฝรั่งเศสที่จะตองอยูเพื่อปฏิบัติการรบในสเปนใหตกต่ําได นี่แหละคือกลยุทธอยางเดียวที่ชาวสเปนมีเหลืออยู ซ่ึงชาวสเปนก็ไดนําออกใชดวยความชาญฉลาดและอยางไดผล บรรดาปรมาจารยเจาตํารับลัทธิแหงสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบชั้นหัวกะทิทั้งหลาย ไดนําเอาพฤติกรรมการตอสูของชาวสเปนนี้ ผสมผสานเขากับเรื่องราวในประวัติศาสตรอ่ืน ๆ มาพินิจพิเคราะหอยูนานนับป หลายฝายตางเชื่อวาก็เพราะการศึกษาถึงการตอสูของชาวสเปนคราวนี้แหละที่เปนแรงจูงใจใหเคลาเซวิทซ รวบรวมแนวคิดเขียนเปนเรื่องราวเกี่ยวกับ " สงครามประชาชน "ขึ้น เปนที่ทราบกันทั่วไปวา ขอเขียนสวนใหญของเคลาเซวิทซ แตเดิมนั้นมักเกี่ยวกับการใชกําลังทหารในสภาพการรบของ สงครามตามแบบ (conventional warfare) แตหลังจากที่เขาไดศึกษาถึงเลหกลที่ชาวสเปนและประชากรเหลานั้นนํามาใชกัน เขาจึงรูแจงเห็นจริงถึงคุณประโยชนของกลยุทธเหลานั้นไดโดยทันที ตามเนื้อหาในขอเขียนของ เคลาเซวิทซ เขาไดช้ีใหเห็นวา สงครามประชาชนมีลักษณะอันสําคัญ 2 ประการ คือ - เก่ียวกับการเมือง - เก่ียวกับการทหาร ลักษณะสําคัญสองประการนี้ไดพิสูจนตัวของมันเองวา เปนตัวการกอผลกระทบอยางใหญหลวงตอประวัติศาสตรการสงครามของมนุษยชาติ จากทัศนะทางการเมือง ขอเขียนของเคลาเซวิทซ ไดชักจูงใหเกิดแนวคิดความเชื่อมั่นวาการบรรลุเปาหมายทางการเมือง จะกระทําสําเร็จไดก็โดยการกอ " สงครามประชาชน " ดังที่เขาไดกลาวไววา " เราไมเคยแยกสงครามออกจากการเมืองไดเลย " เคลาเซวิทซ ยังไดแสดงความคิดเห็นตอไปเกี่ยวกับ " สงครามกองโจร " โดยไดบรรยายสภาพบรรยากาศสําหรับทําสงครามกองโจรไว ดังนี้ : " ตามแนวคิดของฝายเราผูทําสงครามประชาชน ควรทําตัวใหเปนประดุจอายระเหยหอมที่คละคลุงไปทั่ว ไมรวมตัวเปนกลุมกอน ณ ที่ใด เพราะไมแลว ขาศึกหรือที่วากันวา...มาขยี้เจาใหแหลกลาญ... จนอาวุธจะตองพลอยอันตรธานจากมือมวลชนไป แตในหนทางอีกอยางหนึ่งหมอกควัน

Page 6: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

6นี้ ควรจะตองรวมตัวกันได ณ ตําบลใดใหเปนกลุม กอนที่หนาทึบยิ่งขึ้น จากนี้และโดยฉับพลันประกายแหงสายฟาอันนากลัวก็สําแดงฤทธิ์ออกมาซ้ําแลวซํ้าเลา ตําบลใดตําบลหนึ่งที่กลาวถึงนี้โดยสวนใหญก็ควรตองเปนตรงปกของยุทธภูมิขาศึก...เพราะตรงที่เหลานี้แหละ ยอมกอความรูสึกหวาดวิตกและสยองขวัญ..." เคลาเซวิทซ ไดช้ีใหเห็นชัดวา ศิลปในการทําสงครามกองโจร ก็คือ ความคลองตัว กระจายกําลัง และความเร็วในการปฏิบัติการโดยมุงกระทําตรงปกและดานหลังของขาศึก เขายังไดตั้งขอสังเกตถึงสภาวการณที่มั่นใจไดวา " สงครามประชาชน " จะประสบชัยชนะในที่สุดได ซ่ึงมีดังตอไปนี้ 1. ประชาชนทําสงครามภายในอาณาเขตประเทศของตน 2. การกอหายนะเพียงครั้งคราวเดียว มิใชปจจัยตัดสินแพชนะอยางเด็ดขาดของสงคราม 3. สมรภูมิของการทําสงคราม ครบคลุมอาณาเขตอันกวางไพศาลของประเทศ 4. ลักษณะประชาชาติเกื้อกูลตอมาตรการการทําสงคราม 5. ลักษณะตามธรรมชาติในประเทศ ขาดเปนหวงเปนตอน และเขาถึงไดยาก ซ่ึงอาจจะเปนเทือกเขา หรือเปนปาและหนองบึง หรือเปนแบบของการกสิกรรมเฉพาะแบบของทองถ่ินหนึ่งนั้น ๆ คําแนะนําเหลานั้น มีผลอยางสําคัญตอการทําสงครามกองโจร บรรดาเจาตํารับแหงลัทธิคนอื่น ๆ ไดนําแนวชี้นํานี้ไปเผยแพรส่ังสอนเพื่อการทําสงครามทั้งสองแบบ คือ สงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบ แมเคลาเซวิทซ มีชีวิตไมยืนยาวพอที่จะอยูสรุปผลงานของเขาเกี่ยวกับ " สงครามประชาชน "ได แตดวยการเล็งการณไกลของเขาไดพิสูจนถึงคุณคาของคําชี้นําที่แนะใหมวลชนปฏิบัติการในสงครามกอความไมสงบ และสงครามกองโจรดวยลักษณะเชิงรุกที่กาวราวอาจหาญยิ่งขึ้นอยูจนทุกวันนี้ บรรดาปรมาจารยช้ันนําคนหนึ่ง ๆ จึงตางก็รับเอาแนวคิดของเคลาเซวิทซไปพัฒนาและนําออกเผยแพรสืบทอดตอ ๆ ไป ทั้งมารคซ เอนเจลส และ เลนิน ไดนําแนวคิดดานการเมืองของเคลาเซวิทซ ไปแพรหลาย และก็ดวยแนวคิดดานการเมืองของเคลาเซวิทซนี่แหละ ไดกอใหเกิดผลกระทบอยางสําคัญตอความเปนมาของประวัติศาสตรมนุษยชาติ สวนขอเขียนของเคลาเซวิทซที่เปนหลักการทําสงครามกองโจร ลอเรนซ (Lawrence) และปรมาจารยคนอื่นก็ไดนําไปแตงเติมและเผยแพรสืบตอมาจนเปนที่ยอมรับ และเจริญรอยตามในหลายประเทศทั่วโลก สวนเมาเซตุง (Mao Tse-tung) ไดผสมผสานแนวคิดทางการเมืองกับแนวคิดทางการทหารเขาดวยกัน แลวนําออกเผยแพรปลุกระดม จนเขาสามารถกอการปฏิวัติเปนผลสําเร็จไดเด็ดขาดเมื่อกลางคริสศตวรรษที่ 20 ไดอยางไร และทฤษฎีของเมานี้ ไดกลายเปนแนวชี้นําใหแกเจาลัทธิคนตอมา เชน

Page 7: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

7เกี๊ยบ (Giap) และ เกวารา (Guevara) ไดตอไป อยางไรนั้นเปนหัวขอที่นานํามาวิเคราะหหาเหตุขอเท็จจริงกันในตอนตอไป � ความรอบรูถึงองคประกอบของการสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบนั้นจึงเปนความจําเปนอยางแทจริง สําหรับนักการทหารและรัฐบุรุษรวมสมัยแหงยุคใหมทุกวันนี�้

วะลาดิเมียร อิลิช อูลยานอฟ (เลนิน) Vladimir llich Ulyanov (Lenin)

ชีวประวัติและการทํางานของ มารคซ และ เอนเจลส (Marx and Angels) สามารถคนควาไดจากประวัติศาสตรสงครามปฏิวัติของพรรคคอมมิวนิสตในประเทศรุสเซีย แนวความคิดของบุคคลทั้งสองไดกอกําเนินรากฐานทางทฤษฎี ซ่ึงตอมาเลนินไดนําไปพัฒนาการจัดตั้ง � พรรคบอลเซวิค� (Bolshevik party) ขึ้นและกอการปฏิวัติยึดอํานาจในประเทศรุสเซียเมื่อป ค.ศ.1917 ไดเปนผลสําเร็จ ยังผลใหโฉมหนาประวัติศาสตรมนุษยชาติตองแปรเปลี่ยนไป วะลาดิเมอ อิลิช อูลยานอฟ (Vladimir llich Ulyanov) ซ่ึงโลกรูจักในชื่อที่คุนกันดีวา นิโคไล เลนิน (Nikolai Lenin) เกิดในเมือง ซิมเบิสค (Simbirsk) บนฝงแมน้ําวอลกา (Volga) เมื่อวันที่ 22 เดือนเมษายน ค.ศ.1870 บิดาของเลนินเสียชีวิตเมื่อเลนินอายุได 15 ป และในปเดียวกันนั้นเอง เขาก็ตองประสบชะตากรรมซ้ําสอง เมื่อพี่ชายของเลนินซึ่งเปนนักศึกษาวิชาชีววิทยาในมหาวิทยาลัย เซนตปเตอสเบิก (St.Petersburg) ช่ือ อเล็กแซนเดอร (Alexander) ไดถูกกลาวหาวามีสวนพัวพันในความพยายามลอบปลงพระชนมพระเจาซาร (Czar) อเล็กแซนเดอร ปฏิบัติการในตําแหนงหัวหนาผูนํากลุมซ่ึงเรียกชื่อตัวเองวา " พวกขมขวัญเพื่อพิทักษเจตจํานงปวงชน " (Terror Section of the will of the People) การปฏิบัติงานหลักของกลุมก็คือ มุงประกันเสรีภาพทางการเมืองของประชาชนเพราะความเชื่อวา หากพวกตนแสดงออกในเชิงคัดคานและดวยการโฆษณาปลุกระดมแลวยอมจะถูกขัดขวางจนไมอาจทําได พวกนี้จึงคิดวางแผนลอบปลงพระชนมกษัตริยคือพระเจาซาร อเล็กแซนเดอร ที่ 3 (Czar Alexander III) แตพวกตํารวจสืบรูตัวผูรวมสมคบ และลงมือจับกุมตัวโดยมี อเล็กแซนเดอร พี่ชายของเลนินติดรางแหอยูดวยระหวางการดําเนินการพิจารณาคดี อเล็กแซนเดอรใหการภาคเสธขอกลาวหาและไมรองอุทธรณความกรุณาแตอยางใดจากศาล และแลวในวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.1887 เขาก็ถูกตัดสินประหารชีวิตโดยการแขวนคอ เหตุการณคร้ังนี้ไดสรางความรูสึกสะเทือนใจเปนรอยจารึกในความทรงจําของเลนินอยางไมรูลืม ตามตํานานเกาเลาตอกันมาวา เลนิน สาบานจะลางแคนแทนความตายของพี่ตน แตทั้งนี้มิใชดวยแผนแกแคนโดยตรง แตเลนินไดคิดไตรตรองแลววา "จําตองใชวิธีการอีกอยาง "

Page 8: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

8 ในฤดูใบไมรวง ค.ศ.1887 ปเดียวกัน นั้นเอง เลนินไดเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยคาซาน (Kazan Universty) และก็ในทันทีนั้น ไดเกิดเหตุการณที่ทําใหเขาตองตกกระไดพลอยโจนเขาเกี่ยวของกับการกอเหตุวุนวายของนักศึกษา กลาวคือ ในวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ.1887 สภานักศึกษามหาวิทยาลัยคาซานไดยื่นขอเรียกรองตามความตองการของเหลานักศึกษาตอคณบดีมหาวิทยาลัย ระหวางการชุมนุม เลนินถูกเฝาจับตามองวาไดเขาไปรวมกลุมอยูดวยในแถวหนา ๆ และแลวตอนหลังก็ถูกขับออกมาจากนั้น เมื่อเขาพยายามกลับเขาไปในมหาวิทยาลัยอีกครั้ง ปรากฎวาทางมหาวิทยาลัยไมยินยอมใหเลนินเขาศึกษาตอไปอีก ตั้งแตนั้นมา เลนินเริ่มตั้งหนาศึกษาคนควาขอเขียนของ คาล มารคซ (Kal Marx) ขณะเดียวกัน ดวยความพยายามครั้งแลวคร้ังเลา ก็ไดมีโอกาสเขาศึกษาในมหาวิทยาลัยเซนตปเตอสเบิก(St.Petersburg University) จนกระทั่งป ค.ศ.1891 เลนินจึงสําเร็จดวยการสอบผานวิชากฎหมาย และไดรับการรับรองสิทธิใหประกอบอาชีพทนายความ เมื่อเลนินอายุได 25 ป เขาไดรับการอุปโลกนขึ้นเปนหัวหนาผูนํากลุมเยาวชนผูนิยมลัทธของมารคซในมหาวิทยาลัยเซนตปเตอสเบิก ดวยกิจกรรมของกลุมครั้งนี้ทําใหเลนินถูกจับกุมตัวในโอกาสตอมาเมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ.1895 ขณะอยูในที่คุมขังเรือนจําเมืองเซนตปเตอสเบิก เขาก็ยังคงติดตอสงขาวโตตอบกับบรรดาสหายรวมพรรคของเขาอยางไมขาดตอน ใน ค.ศ.1897 เลนินพนโทษ แตก็ถูกเนรเทศไปอยูที่หมูบานซูเซนสโก (Shushenskoe) ในแควนไซบีเรีย (Siberia) ตะวันออก ณ ที่นี้เอง เลนินไดสมรสกับ นาเดซยา ครุปสกายา (Nadezhda Krupskaya) ในระยะเวลาระหวางที่ถูกเนรเทศนี้เลนินไดแสวงหาแนวคิดกาวลํ้าหนาตอไปอีก โดยเขียนเปนหนังสือในชื่อเร่ืองวา"การใดที่ตองกอ" (What is to be Done) นับวา เลนินไดยึดถือทฤษฎีของมารคซ และเอนเจลส เปนหลักเกณฑ็ในการดําเนินงานของเขา ทฤษฎีนั้นมุงจุดความสําคัญอยูที่กระบวนการทางเศรษฐกิจ และความเกี่ยวพันระหวางกันในสังคมนายทุนมารคซทํานายวา ฐานะดานการเงินของกรรมกรจะตองเลวลงอยางไมมีทางเลี่ยง และสังคมมนุษยตองถูกบีบใหเดินไปสูการแบงชนชั้นเหลือเพียง 2 พวกเทานั้น ซ่ึงตางมีความรูสึกชิงชังตอกันอยางสิ้นเชิง ความรูสึกตอกันดังคําพยากรณนี้ยิ่งทรุดหนักและสงเอยดวยชนชั้นกรรมกร จะชวยกันทําลายลางพวกชนชั้นกลางอยางดุดัน และกําจัดขอกําหนดกฎเกณฑที่ชนชั้นกลางไดวางครอบงําไวลงทั้งหมดทันทีหลังการปฏิวัติของชนชั้นกรรมกร(ชนกรรมาชีพ proletariat) จะไมมีภาระหนาที่อันใดหลงเหลือสําหรับ "รัฐ" (State) ตองรับผิดชอบดําเนินกงานตอไปอีก รัฐจะคอย ๆ "รวงโรยเลิกลมลงในที่สุด" ทฤษฎีของมารคซนี้โดยสวนใหญมุงตอชาติที่รุงเรืองสุดขีดในยุโรปสมัยนั้นเปนที่หมาย แตในตอนปลายคริสตสตวรรษที่ 19 นั้น ประเทศรุสเซียเอง ก็ยังไมเขาขั้นของความเจริญดังกลาวรุสเซีย

Page 9: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

9ยังคงเปนประเทศกสิกรรมที่ลาหลัง ประชากรมี อาชีพทําไรทํานามากกวารอยละ 80 ของประชากรทั้งหมดของประเทศ เลนิน จึงตองเปนภาระปฏิรูปลัทธิมารคซจากหลักการที่มุงกอการในประเทศอุตสาหกรรมที่เฟองฟูลํ้ายุค ใหเปลี่ยนมาเปนในอีกแบบหนึ่ง ทั้งตองมีเหตุผล และกําหนดยุทธศาสตรเพื่อปฏิวัติและพัฒนาความเจริญแกทองถ่ินลาหลังไดดวย มารคซและเอนเจลสไดศึกษาเหตุการณกอการจลาจลของชนกรรมาชีพในประเทศฝรั่งเศส และไดรวบรวมบันทึกไวในหนังสือเร่ือง "รัฐบาลประชาชนแหงกรุงปารีสเมื่อป ค.ศ.1871" (Paris Commune of 1871)การศึกษาเหตุการจลาจลชในฝรั่งเศสครั้งนี้ของเลนินไดกอผลอยางสําคัญที่บันดาลแนวความคิดที่เลนินจะกาวเดินตอไป นานนับเปนป ๆ ที่ระบอบการปกครองของนโปเลียนไดยังความหายนะมาสูฐานะทางเศรษฐกิจ และกอความอัปยศใหแกชาติฝร่ังเศส ผลที่เกิดตามมาก็คือชนชั้นกรรมาชีพไดกอการจลาจลวุนวายขึ้นดวยความมุงหวังที่จะปลดเปลื้องฝรั่งเศสใหรอดพนจากการรุกรานของเยอรมัน และเพื่อปลดแอกกรรมกรใหหลุดพนจากลัทธินายทุน กอนหนาที่จะเกิดปฏิรูปเปนรัฐบาลของประชาชนครั้งนี้ มารคซไดเคยกลาวเตือนไวใหระวังการกอการจลาจลที่รีบรอนทํากอนเวลาอันสมควร เพราะเขาเห็นวากรรมกรยังไมมีพลพรรคผูคลอยตามมากพอ จะมีก็แคในกรุงปารีสเทานั้น ซํ้ายังขาดคณะพรรคชนกรรมาชีพขนานแทระดับผูนํากอการ กอปรกับไมมีหนวยงานจัดตั้งของมวลชนเพียงพอ และปรากฎวา การคาดคะเนของมารคซก็เปนความจริง เพราะเมื่อการตอสูปะทะกันอยางดุเดือดผานไปไดเพียง 8 วัน " รัฐบาลของประชาชน "ก็ถูกบดขยี้จนพินาศแมแนวคิดจัดตั้งรัฐบาลของประชาชนครั้งนี้ จะไมบรรลุเปาหมายก็ตาม ทั้งมารคซ เอนเจลส และเลนินตางถือกันวาเปนประสบการณทางประวัติศาสตรคร้ังหนึ่งที่มีความสําคัญมหาศาล ควรแกการจดจําบทเรียน ทั้งเปนกาวอันยิ่งใหญของการปฏิวัติโลกของชนชั้นกรรมาชีพ เลนินไดเกิดความเฉลียวใจวา ขอผิดพลาดที่กอความปราชัยแกระบบการปกครองโดยรัฐบาลของประชาชนนี้มีอยูดวยกัน 2 สาเหตุ คือ หนึ่ง : ชนกรรมาชีพไมสามารถควบคุม �" รัฐ� " ไดทั้งหมด และฝนเฟองจนหลงตนผิดไปวา จะสามารถสรางสรรคความเปนธรรมขึ้นภายในบานเมืองไดดียิ่งกวาเกา โดยการรวมงานบริหารของชาติแบบเดิมเขาดวยกัน สอง : ชนกรรมาชีพ เลือกใชวิธีการชักจูงฝายตรงกันขามโดยคํานึงถึงศีลธรรมเกินไป แทนที่จะใชวิธีการทําลายลางและก็มองไมเห็นความหมายอันสําคัญของการใชปฏิบัติการทางทหารดวยความเด็ดขาด " แทนที่จะโหมเขาตีกระหน่ําเมืองแวรไซส (Versailles) ใหถึงแตกหัก.. กลับปลอยและเปดโอกาสใหรัฐบาลแวรไซส มีเวลาระดมและจัดกําลังหนวยลาสังหาร สงออกปฏิบัติการปราบปรามจนเกิดเหตุหล่ังเลือดนานนับเปนสัปดาหในเดือน พฤษภาคม นั้น "

Page 10: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

10 เลนิน มิไดลืมเลือนบทเรียนแหงความ ลมเหลวครั้งนี้เลย ตอมาเขาจึงไดเร่ิมงานจัดตั้งเพื่อการปฏิวัติขึ้นใหมีลักษณะของการนําและจัดหนวยอยางสมบูรณแบบโดยมุงมั่นเขาบดขยี้ "กลไกสําเร็จรูปของรัฐ" และไมร้ังรอเก็บไวอีกตอไป ดังที่ไดตั้งขอสังเกตไวแตแรกแลววา ทฤษฎีของมารคซและเอนจลสเปนรากฐานของการทํางานของเลนิน อยางไรก็ตาม ก็มีประจักษพยานหลายอยางที่แสดงวา แนวคิดของเลนินก็มีสวนมาจากพวกหัวปฏิวัติคนอื่น ไดแก มิคาอิล เอ.บาคูนิน (Mikhail A.Bakunin) บาคูนิน (ค.ศ.1814-1876) รับราชการเปนนายทหารรักษาพระองคและเปนผูถือกรรมสิทธิ์ในที่ดินจํานวนหนึ่ง แตตอมาไดกลับกลายไปเปนคนไมเชื่อในพระเจา และคิดกอการลมลางฎหมายและการปกครอง (anarchist-stheist) ศัตรูของเขาก็คือ " รัฐ " นโยบายของบาคูนิน ไดแก ทําลายรัฐบาลผูบริหารประเทศทุกคณะ และจุดมุงของเขา คือ พัฒนาชาติเปนแบบประชาคมของชาวนาชาวไร ผูสามารถเลี้ยงตนเองไดและมีระบบงานบริหารทองถ่ินแตเพียงสวนนอยที่สุด บาคูนิน เปนผูหนึ่งที่สนับสนุนวิธี " ขูเข็ญตั้งแตตนจนจบ " (permanent terror) และเขาเปนบุคคลคนแรกที่แปลประกาศลัทธิคอมมิวนิสตเปนพากษภาษารุสเซีย นักประวัติศาสตรไดตั้งขอสังเกตกันวา ขอเขียนของเลนินสวนใหญจะคลายคลึงกันกับขอเขียนของบาคูนินอยางเห็นไดโดยชัด ทั้งนี้รวมทั้งแนวคิดตามที่บาคูนินนิยมชมชอบ ดังนั้นอิทธิพลเกี่ยวกับความคิดของบาคูนิน ดังกลาวนี้จะปรากฎชัดเจนยิ่งขึ้น ก็ตอเมื่อไดอภิปรายถึงผลงานของเลนิน หนึ่งในบรรดาสิ่งที่เลนินยึดถืออยางเครงครัดในศิลปสงครามปฏิวัติก็คือ แนวความคิดวาดวยการนํามวลชนโดยการ " จัดตั้ง " (organization) เลนินเปนสาวกคนแรกของมารคซที่มีความเห็นวาฝายกอการปฏิวัติควรตองมีพรรคหนึ่งของตนในรูปแบบอยางใหมอันหนึ่ง เขาคิดวาเรื่องอันดับแรกที่ตองเรงลงมือทําโดยดวนที่สุด คือ " ตั้งองคการหนึ่งของผูกอการปฏิวัติขึ้นเพื่อบันดาลใหเกิดพลัง เสถียรภาพและความตอเนื่องในการตอสูทางการเมือง " เลนินมีความเชื่อมั่น ดังนี้ " ถาปราศจากเสียซ่ึงองคกรการเมืองความพยายามใด ๆ ที่แสดงออกในนามของการเคล่ือนไหวทางการเมือง ยอมไมมีทางคิดทําขึ้นไดในยุโรปภาวะอยางปจจุบันดวยประการฉะนี้ ยอมหมายรวมถึงในรุสเซียดวยอยางไมตองสงสัย เพราะรุสเซียก็เปนสวนหนึ่งของยุโรปดวยกัน ดังนั้น ขอใหเราไดมีหนวยงานของผูกอการปฏิวัติสักหนึ่งหนวยเถิด เราจะลมลางรุสเซียใหจงได " เลนินคิดวา ไมมีขบวนการปฏิวัติใดสามารถยืนยงอยูได ถาปราศจากองคการที่มั่นคงสําหรับผูนําปฏิวัติจะใชเพื่อดํารงความตอเนื่องในการกอการ การนําดวยวิธีการอยางนี้ นับวาเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งโดยเฉพาะสําหรับการรวบรวมพลังมวลชน และเผยแพรลัทธิคําสอนที่จําเปนตอการ " ใหความรูแกชน

Page 11: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

11กรรมาชีพ " เลนินเขมงวดการรับบุคคลเขาเปน สมาชิกขององคการ ใหเฉพาะผูที่ " มีปณิธานอันแนวแนเพื่อกอการปฎวัติ " ขอจํากัดเชนนี้เพื่อให " ตํารวจการเมือง " สืบจับองคการไดยากยิ่งขึ้น และเพื่อเปดโอกาสใหประชาชนไดเขารวมกิจกรรมไดกวางขวางมากขึ้น ทั้งจากชนชั้นกรรมกรและจากชนช้ันอื่น ๆ ของสังคมดวย องคการจัดตั้งของเลนินนี้ พัฒนาขึ้นเพื่อชักชวนและบงการใหกอการจลาจลในเขตเมือง ซ่ึงตอมาไดกลายเปนองคการหนึ่งที่รูจักกันดีในทุกวันนี้ นั่นก็คือ "พรรคคอมมิวนิสต" (Communist Party) ในหวงตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 19 ตอเนื่องถึงตนคริสตศตวรรษที่ 20 ไดเกิดอุบัติการณตาง ๆ หลายเรื่องหลายกรณีที่สอเคาวาจะเกิดการกอการปฏิวัติขึ้น เหตุการณเหลานั้น ไดแก คนงานพรอมใจกันหยุดงานเพื่อเรียกรองเงินคาจาง นักศึกษารวมกับกรรมกรเดินขบวนประทวงการเมือง เหตุการณลุกลามเนื่องมาจากการกอการจลาจล โดยพวกชาวไรชาวนาและในขณะเดียวกันนี้เอง เลนินไดลงมือรวมกลุมการเคลื่อนไหวของกรรมกรสมทบรวมเขากับพรรคของเขา เลนิน ปลุกระดมวาการตอสูของชนชั้นกรรมกรไมควรจํากัดอยูเพียงแค " เงื่อนไขที่เอาประโยชนจากการขายแรงงาน " เทานั้น แตจะตองทําลายกฎเกณฑของสังคมที่กดขี่กรรมกรใหจําตอง " ขายตนเองใหกคนมั่งมี " เสียดวย เลนิน พยายามชักจูงชนจากทุกชั้นสมาคมใหเขามีสวนรวมใน " พลังทางการเมืองจัดตั้ง " (Organized political force) หนวยกรรมกรจัดตั้งของเลนินในทุกมณฑลพื้นที่ที่สําคัญ ๆ จะตองมีกลุมแกนเล็ก ๆ ของกรรมกรที่มีประสบการณสูงและไวเนื้อเชื่อใจไดอยางมากที่สุดรวมอยูดวยหนึ่งแกนกรรมกรทั้งหมดนี้ จึงประพฤติการเปนไปโดยสอดคลองสนองตามกฎขอบังคับขององคการที่ตนสังกัด บันดาลใหเกิดลักษณะของการชี้นํามวลชนขึ้น เลนินเชื่อใจกลุมแกนของพรรคเหลานี้วาจะสามารถกอปฏิกิริยาโตตอบตอเหตุเสื่อมทรามทั้งหลายไดเองโดยสัญชาตญาณตามธรรมชาติ และสามารถจัดตั้งองคการแนวรวมของตนเองขึ้น เพื่อเปนเกราะแหงความปลอดภัยใหแกพรรคและสื่อขาวสารของพรรคแพรตอไปสูมวลชนได เลนินไดทุมเทกลอุบายทุกอยาง เพื่อพยายามจัดตั้งพรรคและรวบรวมพลังมวลชนใหจงได วิธีการที่ไดผลมากที่สุดอีกวิธีหนึ่งนาจะไดแก การใชการโฆษณาชวนเชื่อ ในเดือน พฤษภาคม ค.ศ.1900 เลนินไดเขารวมประชุมกับสาวกผูนิยมลัทธิของมารคซคนอื่น ๆ ที่เมือง ซะคอบ (Pskov) เพื่อวางแผนจัดทําหนังสือพิมพขึ้นหนึ่งฉบับ สําหรับโฆษณาเผยแพรใหกวางไกลไปทั่วทุกถ่ินประเทศ วัตถุประสงคหลักของหนังสือพิมพในขณะนั้น ก็เพื่อตองการตอสูพวกปฏิกิริยาที่กําลังหันเหออกจากแนวทางของมารคซ หนังสือพิมพนี้ ไดช่ือวา อิสกะระ (Iskra) ซ่ึงตรงกับพากยภาษาอังกฤษในความหมายวา " ประกาย " (Spark) ตั้งแตเร่ิมกําเนิดของหนังสือพิมพ อิสกะระก็มุงเข็มเพื่อการปฏิวัติแตเพียงเรื่องเดียวมาตลอด ซ่ึงตอมา ไดกลายเปนตนกําเนิดของ ขบวนการสังคมประชาธิปไตยของชาวรุสเซีย

Page 12: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

12 เลนิน ทราบดีวา หนังสือพิมพเปนสิ่งจําเปน มิใชเพียงแคฐานะเปน " กระบอกเสียงสวนรวมและผูปลุกระดมรวม " (collective propagandist and collective agitator) เทานั้น แตจะเปน " ผูจัดตั้ " (collective organizer) ดวยเชนกัน เขาเองไดใชการโฆษณาชวนเชื่อ และการปลุกปนเพื่อ " สรางอิทธิพลทางความคิดแกสาธารณชนตามแนวที่ตองการ และยั่วยุมวลชนใหรวมตัวกันกอการปกิวัติ " เลนินยังไดตั้งขอสังเกตตอไปวา นักโฆษณาชวนเชื่อตองทํางานในหนาที่ของตนโดยการ " แพรขาวทางสิ่งพิมพ " เปนหลัก การแพรขาวโฆษณาชวนเชื่อโดยทางหนังสือพิมพ อํานวยประโยชนในเรื่องตอไปนี้ - สามารถสัมผัสมวลชนกรรมกรจํานวนมากที่สุดไดอยางถึงแกน - ใชพัฒนาวิธีการหาหนทางเจาะเขาไปสูสถานการณทางการเมืองทั่วไปทุกเรื่องได - รักษาสัมพันธอยางคงเสนคงวา - เสริมสงสามัคคีในพรรค - ทายสุด ปลุกปนมวลชนใหกอการปฏิวัติ เลนินวางแผนไววา เมื่อใดที่จัดตั้ง " องคการ " หนึ่งไดเปนผลสําเร็จ และรวมพลังกรรมกรไดแลว ก็เร่ิมงานกอวินาศกรรม และกอการรรายเพื่อนําไปสูการจลาจลดวยอาวุธในที่สุด เลนินประกาศใหทราบทั่วกันวา เมื่อใดสภาพบรรยากาศที่อํานวยไดกอตัวข้ึนใน "วงการศึกษา" (education of society) ก็ใหเร่ิมงานจัดการตั้งพลพรรคใตดินหัวเห็ดขึ้นหนึ่งพวก และตั้งฐานที่มั่นมวลชนหนึ่งแหงทันที และบัดนี้ก็ถึงเวลาเริ่มการปฏิบัติการตามเปาหมาย ซ่ึงไดแกการกอการจลาจลดวยอาวุธ จนกระทั่งถึงขั้นตอนของการพิชิดอํานาจรัฐไดในทายที่สุด การจะทําตามทฤษฎีของเลนินใหประสบความสําเร็จนั้น มิใชงานที่งายนัก ระยะเมื่อกอนป ค.ศ.1905 นั้น สวนใหญเลนินจะวุนอยูกับการคิดกําหนดหลักทฤษฎี และทุก ๆ วันเขาจะทํากิจวัตรในสิ่งที่เลนินขนานชื่อวาเปน "เครื่องมือกอการปกิวัติ" (instrument of revolution) ซ่ึงนั่นก็คือ พรรค (the Party) นั่นเอง เหตุการณการปฏิวัติไดเร่ิมปะทุขึ้นทั่วทุกหนทุกแหงในรุสเซีย กลาวคือ สงครามรุสเซีย - ญี่ปุน ระหวางป ค.ศ.1904 - 1905 เปนเหตุหนึ่งที่สรางบรรยากาศของการปฏิวัติขึ้น สวนเหตุบังเอิญที่เปนตัวการจุดชนวนการปฏิวัติ ค.ศ.1905 ก็คือ เมื่อบาทหลวงกาบอน (Father Gabon) ไดจัดการเดินขบวนประทวงทางการเมืองขึ้นที่หนาพระราชวังฤดูหนาวของพระเจาซารจักพรรดิ์แหงรุสเซีย ณ กรุงปโตรกราด (Petrograd) เมื่อเดือนมกราคม ทหารไดรับคําส่ังใหออกปฏิบัติการกวาดลางจนเกิดเหตุการณรุนแรง ดังที่ทราบกันทั่วไปวาเปน "อาทิตยเลือด"(Blood Sunday)แลวติดตามดวยการลุกฮือข้ึนกอเหตุจลาจลโดยเริ่มจากการนัดหยุดงานหลายตอหลายแหง การเดินขบวน การกอความวุนวาย การกอการราย และการกอความไมสงบในรูปแบบตาง ๆ และไมชานัก การนัดหยุดงานทั่วไปก็อุบัติขึ้น จนกระทั่งเปนผลใหมีการเจรจายินยอมทําขอตกลงทางการเมืองกันได

Page 13: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

13บางประการ แตปรากฎวา บรรดากลุมผูกอการ กลุมหนึ่ง คือ สภาผูแทนกรรมกร (Council of Worker's Deputies) ซ่ึงอยูใตการนําของลีออน ทรอทซกิ (Leon Trotsky) ไมพอใจในความยินยอมตามขอตกลงนั้น จึงปลุกระดมใหกอการลมลางรัฐบาลตอไป แตฝายกอการปฏิวัติประสบความลมเหลว และในที่สุดก็ถูกปราบปรามจนเปนฝายปราชัยเมื่อเดือน ธันวาคม 1905 อยางไรก็ดี กอนที่จะจบลงดวยความพายแพ การกอความวุนวายในกรุงมอสโควก็บรรลุสูความรุนแรง ถึงจุดเดือดสุดขีดกลาวคือ นับเปนเวลาถึง 5 วันเต็ม ที่พวกกรรมกรไดฮึดสูอยางไมลดละเพื่อทําลายการขัดขวางของทหารพระเจาซาร ในขณะเดียวกันกับที่เกิดเหตุการณนี้ ตลอดป ค.ศ.1905 บทบาทของเลนินเปนไปอยางถูกจํากัด แตในที่สุด วาระของเลนินก็ไดมาถึงแลว ณ บัดนี้ การปฏิวัติใน ค.ศ.1905 ที่ลมเหลวครั้งนั้น ทําใหเลนินยิ่งเชื่อมั่นวา การกอการจลาจลติดอาวุธ และการสั่งสม "อํานาจเผด็จการของชนชั้นกรรมกรและชาวนา ชาวไร " ขึ้นคือจุดมุงหมายที่ตองทําใหเปนจริงกอนใหจงได เลนินจึงศึกษาอยางพินิจพิเคราะหทุกบทตัวอักษรที่ มารคซ เอนเจลสเคลา เซวิทซ และศาสดาคนอื่น ๆ ไดรวบรวมเขียนเกี่ยวกับศิลปของการกอการจลาจล และวิธีการทําสงครามเครื่องกีดขวางไว จากการแสวงหาขอมูลความรูใหเกิดความพรอมเพื่อการตอสู เลนินลงมือจัดตั้งหนวยกอการจลาจลติดอาวุธอันกอปรดวยกลุมคนชนกรรมาชีพ ชาวนา ชาวไร และทหารในกองทัพ และกําหนดใหกําลังทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับการชี้นําของ " พรรคบอลเซวิค" (Bolshevik party) คร้ันในปตอ ๆ มา เลนินก็ไมพนเงื่อนปมปญหายุงยากเกี่ยวกับความพยายามดูแลความสามัคคีในพรรค และเกี่ยวกับการจัดตั้งมวลชนเพื่อการปฏิวัติ อยางไรก็ตามถึงแมการที่รุสเซียเขารวมรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 จะเปนการชวยลดความกดดันจากประเทศเยอรมันลงไดดังตองการก็ตาม แตสงครามก็ไดบั่นทอนขวัญประชาชนชาวรุสเซีย จนเกิดเงื่อนไขสุกงอมใกลถึงวาระแหงการปฏิวัติเขาไปทุกที และดวยสภาพความเลวรายทางเศรษฐกิจและการดํารงชีวิตของหมูประชาชน เพราะสงครามเปนตนเหตุ จึงกอใหเกิดการรวมตัวเดินขบวนของประชาชนเพื่อตอตานรัฐบาลขึ้นเองในเดือนมีนาคม ค.ศ.1917โดยไมตองมีผูชักนําและก็เปนเพราะสาเหตุที่กองทหารรุสเซีย พากันขัดคําส่ังปราบปรามโดยไมยอมหันปากกระบอกปน ยิงเขาใสฝูงชนผูรวมเดินขบวน ยังผลใหพระเจาซาร นิโคลาส (Czar Nicholas) ถึงกับตองสละราชบัลลังก เมื่อสถานการณทรุดหนักจนถึงขั้นนี้ จึงทําใหตองจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราว (Provisional Government) ในรุสเซียขึ้น ขณะที่กําลังเกิดเหตุการณปฏิวัติเมื่อ ค.ศ.1917 นี้ เลนินยังถูกเนรเทศอยูในประเทศสวิสเซอรแลนด คร้ันเมื่อเขาทราบขาวการปฏิวัติเขาก็รีบกลับรุสเซียทันที และดวยความชวยเหลือจากรัฐบาลเยอรมัน เลนินสามารถเดินทางถึงกรุงปโตรกราดในเดือน เมษายน ค.ศ.1917 นั้นเอง และใน

Page 14: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

14ทันทีทันใดเขาก็เรงจัดการรวมพลังพรรคบอลเชวิ คขึ้นใหม พรอมกับจัดตั้งองคกร "แนวรวม" ("front" organization) ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการวัฒนธรรม ในความควบคุมของพรรคบอลเชวิคขึ้นเปนสถาบันคูแขงซอนหนวยงานของรัฐที่มีอยูกอนแลว เลนินใชวิธีการแทรกซึมและโฆษณาบอนทําลายระบอบการปกครองแบบเกาพรอมกับเกลี้ยกลอมสมาชิกชั้นแนวหนาของพรรคสังคมประชาธิปไตย เมนเชวิค (Menshevik Social Democrat) ใหเบนแนวคิดมารวมมือกัน และรวมทั้งชักชวนบรรดาพวกหัวปฏิวัติสังคมนิยมคอมมิวนิสต (Left Social Revolutionaries) อยางเชน ทรอทซกิ และแอนเดรซาดรอฟซกิ(Andrei Sadrovsky)เปนตน จนกระทั่งพรรคบอลเซวิคของเลนินสามารถรวมพลังพลพรรคไดอยางเปนปกแผนเมื่อถึงฤดูรอน ค.ศ.1917 ยิ่งไปกวานั้น เลนินและพรรคของเขาสามารถเขาควบคุมการปฏิบัติการของกองทหาร ณ ที่ตั้งคายกรุงปโตรกราดไวไดในกํามือโดยผานทางผูตรวจการ (Commissars) นักปลุกระดมลัทธิผูซ่ึงเพียงแตใชอํานาจลงนามรับสนองพระบรมราชโองการก็สามารถสั่งการใชกําลังกองทัพบกและกองทัพเรือไดทันที และโดยที่ผูตรวจการเหลานี้ก็คือผูรวมกอการที่มีใจฝกใฝลัทธิของเลนินอยูพรอมแลว ดังนั้นดวยอุบายเยี่ยงนี้ พรรคบอลเซวิคจึงสามารถสรางอิทธิพลครอบคุลมไปทั่วทุกสวนของกองทัพ หลังการปฏิวัติยึดอํานาจที่เกือบไมตองหล่ังเลือดเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม พรรคก็คุมอํานาจไวไดโดยส้ินเชิง และแลวเลนินก็ไดรับมอบหมายใหเปนหัวหนาคณะรัฐบาล ผูบริหารประเทศนั้น เมื่อไดอํานาจทั้งหมดในรุสเซียแลว เลนินมิไดหยุดความคิดปฏิวัติของเขาอยูแคนั้น เขาเพียงแตเบนความสนใจมุงไปสูโลกภายนอก และตอมาในป ค.ศ.1920 ดวยความพยายามของเลนิน เขาจึงสามารถสถาปนา "สมาคมสากลกรรมกรรุสเซียที่ 3 (Third International) ซ่ึงเปนที่รูจักกันทั่วไปในนาม "คอมมิวนิสตสากล" หรือ "คอมมินเทิน" (Commintern) ความมุงหมายของเลนินคือสนับสนุนใหเกิดการปฏิวัติทั่วโลก และทําลายแผนการของพวกสังคมนิยมยุโรปอื่นที่กําลังแพรขยายอิทธิพลเขาครอบงําขบวนการสังคมนิยมระหวางประเทศ ถึงอยางไรก็นับวาประสบผลสําเร็จตามความมุงหมาย แมตอมาองคการคอมมินเทินจะถูกขับไลไสสงไปแลวก็ดี แนวคิดการปฏิวัติของเลนินก็ยังมีบทบาทอยางสําคัญในหลักลัทธิคอมมิวนิสตอยูจนทุกวันและยังถายทอดตอไปสูประเทศภายนอกอื่นอยูอยางแพรหลายทั่วโลก แนวความคิดการทําสงครามของเคลา เซวิทซที่วา สงครามยอมเปนเครื่องมืออยางหนึ่งเพื่อสืบทอดนโยบายของรัฐนั้น ทั้งมารคซ และ เอนเจลส ตางก็นําเอาแนวคิดนี้ไปศึกษาคนควากันอยางจริงจัง และเลนินก็เปนอีกผูหนึ่งดวย ความสําเร็จในการปฏิวัติรุสเซียของเลนินในที่แหงอ่ืน ๆ นั้น เกิดขึ้นไดก็เพราะหลัก ทฤษฎีของเลนินที่วาดวย : - การจัดตั้ง

Page 15: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

15 - การกอการจลาจลในเมือง - การใชประโยชนการโฆษณาชวนเชื่อ - การปฏิวัติโลก - การใชหลักทฤษฎีอยางถูกตองตามสภาพความเปนจริง หลักทฤษฎีของเลนินเหลานี้แหละ ที่กอผลกระทบอยางใหญหลวงตอยุทธศาสตรการทําสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบที่กําลังเปนอยูในทุกวันนี้ ในเวลาไลเล่ียกันที่เลนินนํากรรมกรกอการปฏิวัติในรุสเซียอยูนั้น ทางดานประเทศอาระเบีย ที.อี.ลอเรนซ (T.E.Lawrence) ก็นํากําลังพวกนักรบอาหรับ (Arabs) ตอสูขับไลแขกตุรกี(Turks) อยูในทะเลทรายภายในดินแดนตะวันออกกลาง

ที.อี.ลอเรนซ T.E.LAWRENCE

ที.อี.ลอเรนซ (T.E.Lawrence) ซ่ึงรูจักกันดีในนามของ " ลอเรนซแหงอาระเบีย" (Lawrence of Arabia) คือผูซ่ึงนักประวัติศาสตรหลายทานไดจารึกไววาเปนบุคคลคนแรกที่ไดกําหนดวางทฤษฎีการทําสงครามกองโจรขึ้น แมนักเขียนอื่นบางทาน หรือสมัครพรรคพวกของลอเรนซเองบางคนยังเคลือบแคลงในการอุทิศความพยายามของลอเรนซเหลานั้น แตถาไมคํานึงถึงความคิดโตแยงเหลานี้แลว วงการสวนใหญยอมรับกันวาลอเรนซเปนบุคคลสําคัญคนหนึ่งผูเชื่อมโยงการสืบทอดเจาตํารับลัทธิผูกอกําเนิดศิลปของการทําสงครามกองโจรใหตอเนื่องและดํารงอยู ในตอนที่ผานมาแลว เราไดศึกษากันวาเลนินไดนําเอาแนวคิดการตอสูทางการเมืองของเคลาเซวิทซในสงครามกอความไมสงบ และสงครามปฏิวัติไปเผยแพร ตอไปนี้เราจะพิจารณาถึงวาลอเรนซ ไดนําแนวคิดของเคลาเซวิทซ ในทัศนะอีกประการหนึ่ง คือ ความคิดทางทหารไปใชในการทําสงครามกองโจรนั้นออกไปแพรขยายเพื่อใชประโยชนอยางไร ลอเรนซไดพัฒนาทฤษฎีของตนเองขึ้น ในขณะปฏิบัติงานเปนที่ปรึกษาชาวอังกฤษประจํากองทหารอาหรับระหวางสงครามโลกครั้งที่ 1 ความมุงหมายของลอเรนซที่ไดรวบรวมกอตั้งกองทหารนี้ขึ้นมาก็เพื่อสนับสนุนกําลังฝายพันธมิตรใหสามารถเคลื่อนที่ผานแควนปาเลสไตน (Palestine) และประเทศซีเรีย(Syria) ไดดวยการปฏิบัติการรบกวนกองทหารตุรกีและขัดขวางการใชเสนทางสงกําลังซ่ึงชวยใหกําลังฝายพันธมิตรภายใตการบังคับบัญชาของอังกฤษ คือ ผูบัญชาการ ไฮนแมน แอลเลนบี (British Commander Hynman Allenby) สามารถเขายึดกรุงเยรูซาเล็ม (Jerusalem) ไวไดเมื่อวัน 9

Page 16: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

16เดือนธันวาคม ค.ศ.1971 ความสําเร็จแหงชัยชนะ ที่ แอลเลนบี ไดรับอยางไมยากเย็นนั้น สมควรยกยองใหเปนเกียรติยศจากผลงานของลอเรนซและนักรบชาวอาหรับทั้งมวล ซ่ึงชวยใหงานของแอลเลนบีงายขึ้นในการรบครั้งแรก ๆ ระหวางนักรบชาวอาหรับกับทหารตุรกี นักรบอาหรับไดเขาโจมตีกองทหารตุรกี ซ่ึงจัดการระวังปองกันไวอยางเหนียวแนน ฝายอาหรับจําตองกระจายกําลังแยกกันเขาตีซ่ึงผลก็ลงเอยดวยอาหรับเปนฝายปราชัยอยางยับเยิน ลอเรนซตระหนักไดโดยทันทีวา การสูรบในลักษณะเชนนี้ ยอมไมกอประโยชนอันใด และในระหวางที่เขาพักรักษาตัว ลอเรนซมีเวลาพัฒนาแนวความคิดของตนเองขึ้น เขาไดประมวลความคิดของเขาเขากับแงคิดทางยุทธศาสตรและแงคิดทางยุทธวิธี และไดพิจารณาจากหัวขอ ซ่ึงลอเรนซมีความเห็นวาเปนเรื่องพื้นฐานที่สําคัญอยางยิ่ง 3 ประการ ดังนี้ หนึ่ง - ขอมูลทางคณิตศาสตรโครงสราง (Algebraical) สอง - ขอมูลทางชีววิทยา (Biological) สาม - ขอมูลทางจิตวิทยา (Psycological) ลอเรนซไดอธิบายหัวขอเร่ืองเหลานี้ไวดังนี้ ทางคณิตศาสตรโครงสราง ขอมูลทางคณิตศาสตรโครงสราง คือ " ศาสตรหลักขนานแทอยางหนึ่งซ่ึงขึ้นอยูกับกฎเกณฑทางคณิตศาสตรไมใชกับมนุษย สวนใหญเกี่ยวของถึงสภาพทั้งที่คงที่และที่อาจเปลี่ยนแปรไปแตก็สามารถกําหนดใหรูและเขาใจได " เชน ในเรื่องของระยะทาง กาลเวลา ขุนเขา อากาศ ทางรถไฟ เปนตน ลอเรนซรูสึกวาลําดับขอมูลเหลานี้ " นาจะกําหนดขึ้นไวตามสาระสําคัญ " เขาไดพิจารณาถึงขอมูลในขั้นนี้ตอไปถึงเรื่อง จํานวนขาศึก ขนาดพื้นที่ฐานปฏิบัติการ วัสดุและยุทธภัณฑและลักษณะของภูมิประเทศ เมื่อประยุกตขอพิจารณานี้เขากับสถานการณการรบของอาหรับ-ตุรกี เขาจึงตระหนักแนวา ตุรกียอมไมสามารถยึดประเทศอาหรับไวไดทั้งหมด ในเมื่อฝายขาศึก คือ อาหรับใชขีดความสามารถในการเคล่ือนที่อันรวดเร็วได เพราะปราศจากขบวนสัมภาระที่จะทําใหตองหวงหนาพะวงหลัง ฉะนั้น ความคลองตัว (mobility) จึงเปนปจจัยสําคัญยิ่งของการทําสงครามกองโจร ทางชีววิทยา ลอเรนซมีความเห็นวาขอมูลเกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิต คือ "ปจจัยที่ไมแนนอน" ซ่ึงไมสามารถแสดงออกเปนจํานวนตัวเลข ขอมูลนี้มักจะเปลี่ยนแปลงไดเสมอ และไมสามารถบอกใหรูได แตสามารถใชใหเกิดประโยชนโดย " ผูบังคับหนวยผูสามารถมองการณไกลไดมากกวาเพื่อน " เขาทราบดีวา ขอ

Page 17: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

17วิเคราะหนี้ ครอบคลุมไปถึงวัสดุปจจัยอ่ืน เชนเดียวกันกับมนุษย เนื่องจากทหารตุรกีมักสนใจแตดานยุทธโธปกรณยิ่งกวาดานกําลังพล ลอเรนซจึงตัดสินเลือกเอาการเขาโจมตีตอเปาหมายอันเปนยุทโธปกรณของทหารตุรกีมากกวาการรบทําลายกําลังทหารในกองทัพของขาศึก อาหรับจะทุมกําลังเขาโจมตีตอแหลงยุทโธปกรณที่ตุรกีจัดการระวังปองกันไวแตเบาบางเปนหลัก จากขอวิเคราะหนี้ ลอเรนซจึงตกลงใจกําหนดเอาเสนทางรถไฟสาย ฮีจาซ (HeJaz) ซ่ึงเปนเสนหลอเล้ียงชีวิตของชาวตุรกีเปนเปาหมายการโจมตี ดวยการตัดสินใจดังกลาว ลอเรนซ จึงสนับสนุนแนวความคิดรวม 3 ประการ คือ ออมกําลังกองโจร เลือกปฏิบัติการตอที่หมายแตกหัก และ ทําลายขวัญ และกําลังใจในการสูรบของขาศึก ทางจิตวิทยา ปจจัยที่ 3 ไดแก ดานจิตวิทยา ลอเรนซเพงเล็งเปนพิเศษถึงความรูสึกนึกคิดในจิตใจของทั้งปจเจกบุคคลและของมวลชนเปนสวนรวม เขามีความเห็นวาจิตใจของมนุษยไมวาจะเปนมิตรหรือศัตรู สามารถบันดาลผลในทางบวกตอการทํางานของเขาไดทั้งนั้น ลอเรนซรูสึกวาวัตถุประสงคที่ตองทําใหสําเร็จก็คือ " จัดการปรุงแตงจิตใจของบุคคลเหลานั้นใหเขารวมการตอสูอยางระมัดระวังและอยางมีระเบียบแบบแผน.... ใหเหมือนกับที่นายทหารควรตองพิถีพิถันกับเครื่องแบบที่เขาสวมใสฉะนั้น " เขาไดตั้งขอสังเกตวา การจะพิชิตดินแดนแควนหนึ่งใดใหได " ก็ตอเมื่อไดปลุกใจใหประชากรในดินแดนนั้นรูสึกเทิดทูนตออุดมการณแหงเสรีภาพอยางไมยอมเห็นแกชีวิต จนกระทั่งคิดวาการปรากฎตัวของขาศึกเปนสิ่งที่ไมนาหวั่นไหวแตประการใด " การทําสงครามจิตวิทยา มิไดจํากัดเฉพาะตอทหารฝายขาศึกและทหารฝายเดียวกันที่อยูในสนามรบเทานั้น แตจําตองกระทํามากยิ่งไปกวานั้นอีก กลาวคือ ลอเรนซไดตระหนักถึงความสําคัญของสภาวะแวดลอมจากนานาประเทศ และเชื่อวางานดานจิตวิทยานี้สมควรครอบคลุมใหทั่วไปถึงเหลาชาติที่สนับสนุนแนวทางอาหรับพวกหนึ่ง ตอบรรดาชาติที่มีความคิดเห็นตรงกันขามกับอาหรับและรวมทั้งกระทําตอชาติที่เปนกลางทั้งหลายดวย ความสําคัญและหลักการใชสงครามจิตวิทยาจึงถือเปนสัจธรรมอีกประการหนึ่งของลอเรนซ เมื่อไดวิเคราะหการตอสูระหวาง อาหรับกับตุรกี ตามองคประกอบทางคณิตศาสตร ชีววิทยาและจิตวิทยา ลอเรนซจึงกําหนดแผนการณหนึ่งขึ้นเพื่อชาวอาหรับจะไดนําไปดําเนินรอยตาม ลอเรนซประกาศที่หมายขั้นสุดทายของเขาไววา "ทุกตารางนิ้วของแผนดินในทวีปเอเซียที่คนพื้นเมืองพูดอาหรับจะตองยึดใหไดทั้งหมด " และโดยไมตองทําลายกองทหารตุรกี เขากําหนดแนวทางวาไมสมควรใหเกิดการเผชิญหนาโดยตรงกับทหารหนวยหลักของตุรกี ชาวอาหรับไมมียุทโธปกรณใดที่ตองปองกันรักษาไว จึงไมควรนําเอาวิธีการตั้งรับมาใชใหตกเปนเปาการโจมตีของกองทหารตุรกี

Page 18: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

18 - อาหรับ จะไมเสริมสรางกําลังกองทัพ ขนาดใหญ และไมปฏิบัติการรบอยางสงครามตามแบบ เพราะชาวอาหรับเองก็ยังมีความขัดแยงกันระหวางเผาอยูพอแลว - อาหรับจะตองอาศัยหนวยทหารขนาดเล็ก ซ่ึงสามารถเคลื่อนที่ในทะเลทรายไดอยางคลองตัว ทั้งนี้เพื่อความอยูรอดปลอดภัยของหนวย - เนื่องดวยตุรกีขาดขีดความสามารถในการยึดรักษาพื้นที่ของอาหรับไวใหไดทั้งหมด ฉะนั้นฝายอาหรับควรตองเปนฝายกําหนดเลือก " เวลาและสถานที่ " ของการรบดวยตนเอง - ประชาชนฝายอาหรับ ควรมีความสามารถชวยเหลือหนวยทหารขนาดเล็กใหเคล่ือนยาย หนวยไดดวยอาการปกปด และหนวยทหารขนาดเล็กเหลานี้ตองสามารถจัดการตอเสนทาง การคมนาคมของฝายขาศึกใหเปนอัมพาตได - หนวยขนาดเล็กนี้ ตองปฏิบัติงานดวยจิตใจ "อันทรหด ตรวจจับไมได ไมมีแนวหนา ไมมีเขตหลังและเลื่อนไหลไปมาประจุดอากาศธาตุ " (ดวยแนวความคิดและลักษณะการอุปมาอุปไมยเชนนี้ จึงเปนที่ปรากฎชัดวา ลอเรนซคือ สาวกผูหนึ่งของเคลาเซวิทซ เพราะแนวคิดแบบอากาศธาตุนี้ เกือบเหมือนกับลักษณะของ สงครามกองโจรที่เคลาเซวิทซไดอธิบายไว) - แนวทางประการตอไปคือ สงครามยิ่งยืดเยื้อนานวันเทาใดก็ยิ่งมั่นใจไดมากขึ้นเทานั้นวา อาหรับจะเปนฝายไดชัยชนะแนนอน ส่ิงที่กลาวมาแลวทั้งหมดนี้แหละคือ ความคิดของลอเรนซ เกี่ยวกับแนวทางการตอสูในสงคราม ดังนั้นลักษณะพื้นฐานของสงครามกองโจร อาจสรุปรวมไดอยางสั้น ๆ และนาสนใจ ดังนี้ - ออนขอ-ตอ-แข็งกราว - หลีกหลบ (อยางกองโจร) - ตอ - ยุทธวิธี การเขาตีและตั้งรับตามแบบ - ความคลองตัว และการแปรเปลี่ยนสภาพได - ตอ - การตั้งมั่นประจําที่ - หนวงใหยืดเยื้อ - ตอ - การรบฉับไว ลอเรนซ จัดหนวยอยางไมเปนทางการขึ้นหนึ่งหนวย ซ่ึงประกอบขึ้นดวยกลุมแกนเล็ก ๆ ช้ันหัวกะทิชนิดเลือกมาดีแลว ใหทํางานอยูภายใตความควบคุมโดยตรงของหัวหนาปฏิบัติการเปนกองทหารคุมกัน หรือทหารคนสนิทสวนตัว หนวยเหลานี้ประกอบขึ้นเปนแกนชนิดถาวรของกําลังกองโจร และเปนหนวยที่ชาวอาหรับหลายเผาทั่วประเทศสนับสนุนกําลังเขารวมสมทบดวย ชาวอาหรับผูอาศัยในหมูบานตามขอบรอบนอกของทะเลทรายจะเขารวมมือปฏิบัติงานกับกองโจรในทันทีที่การรบคืบคลานเขามาอยูในเขตพื้นที่ของตน แตโดยสวนใหญแลวมักไดรับหนาที่เปนฝายสนับสนุนการชวยรบใหแกกองกําลังกองโจรที่กําลัง รบติดพันมากกวา เชน การสงกําลัง การหาขาวสาร และการหาพวกสมาชิกเพิ่มเติม ลอเรนซ ไดรวบรวมความเห็นของเขาเองขึ้นเปนแนวความคิดหลายประการสําหรับยึดปฏิบัติ

Page 19: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

19ในขณะที่เขารวมงานอยูกับชาวอาหรับโดยเรียบ เรียงไวในหนังสือของเขาชื่อ "หลักบัญญัติแหงปราชญา 7 ประการ" (Seven Pillars of Wisdom) ซ่ึงกลาวไวดังตอไปนี้ 1. ชิงความไดเปรียบ ณ เวลา และตําบลที่สําคัญขณะปฏิบัติการเขาตี 2. เลือกเขาตีฝายขาศึกตรงจุดออน 3. ไมเลือกใชการตั้งรับกลาวคือ เล่ียงหลบการเขาประชิด ยกเวน เมื่อโอกาสอํานวยใหเลือกทําได 4. การปฏิบัติงานการขาวกรอง และการตอตานการขาวกรองอยางมีประสิทธิภาพถือเปนความสําคัญลําดับสูง 5. ความคลองตัวในเกณฑสูงเปนคุณลักษณะที่จําเปนอยางยิ่ง 6. ทําสงครามจิตวิทยาตอ : - มวลชน และตอปจเจกบุคคล - กําลังฝายขาศึก และตอฝายเดียวกัน - ถ่ินประเทศตน และตอนานาชาติ 7. เนนหนวยขนาดเล็กใหมีความเร็วและทันเวลา ไมใชแตพละกําลังเขาตีถายเดียว 8. ลักษณะของยุทธวิธีที่ใชก็โดย "เขาตีแลวถอยหาง-มิใชเพื่อผลักดัน แตเปนการเขาตีทําลาย" 9. การจูโจมเปนองคสําคัญของยุทธวิธีการรบแบบกองโจร ความคลองตัว การลวง และการซุมโจมตี คือ อาวุธที่ทรงอานุภาพสูงสุด ลอเรนซเชื่อวา ถากําลังกองโจรมีความคลองตัว รักษาความลับ รูจังหวะ และยึดหลักนิยมส่ิงที่เหลือก็คือวาระแหงชัยชนะจะมาถึงเมื่อใดเทานั้น ลอเรนซ เปรียบสงครามกองโจรเสมือนหนึ่งยุทธนาวีไว ดังนี้ " ตามลักษณะการปฏิบัติของกองโจร เพื่อพัฒนาไปสูการเขาตีขั้นสุดทายก็เหมือนกับคลายการยุทธนาวี ในแงของการมีความคลองตัว การปรากฎตนไดโดยทั่วทุกหนทุกแหง ฐานปฏิบัติการและติดตอคมนาคมอยางอิสระ ไมนําพาถึงลักษณะภูมิประเทศอันใด หรือแมจุดยุทธศาสตรและแนวทางใดโดยเฉพาะและไมเจาะจงตําแหนงแหลงที่บุรุษใดบงการทองทะเลยอมเสรียิ่งใหญและก็อาจจะเลือกสูสงครามไมนอยไมใหญไดตามแตใจจะพึงประสงค กองโจรยอมบงการหวงแหงทะเลทรายไดประดุจกัน " บี.เอช.ลิดเดล ฮาท (B.H.Liddel Hart) รวมทั้ง เจมส มารเซค (James Marzek) และอีกหลายทานเขียนกลาวไววา ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ไดมีการนําเอาสงครามแบบกองโจรไปใชกันอยางแพรหลาย ทั้งนี้สาเหตุสําคัญสืบเนื่องมาจากความเลื่อมใสอยางลึกซึ้งที่ ลอรด แรนด็อลฟเชอชิล (Churchill, Randoloh, Lord) รัฐบุรุษอังกฤษ และบุคคลสําคัญอื่นอีกหลายทานที่มีตอลอเรนซ ตาม

Page 20: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

20ขอเท็จจริงแลว ลอเรนซไดนําเอาแงคิดทางทหาร ในการทําสงครามกองโจรของเคลาเซวิทซมาดําเนินรอยตามนั่นเอง แนวคิดของเคลาเซวิทซในการดําเนินงานหลายอยางไดกอผลกระทบตอแบบการทําสงครามกองโจรในระหวางและหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แนวคิดเหลานี้มีในเรื่องตอไปนี้ - การใชสงครามจิตวิทยา - การรบดวยวิธีเขาตี - การดํารงความริเร่ิม - ความคลองตัว - การใชงานการขาวกรอง - การวิเคราะหปจจัยที่มีทุกประการ เพื่อพิจารณากําาหนดที่หมายและวางแผนปฏิบัติการไดอยางเหมาะสม ยิ่งไปกวานั้น หลาย ๆ ฝายพากันเชื่อวาขอเขียนของเคลาเซวิทซไดกออิทธิพลตอปรมาจารยเจาลัทธิผูมีช่ือเสียงโดงดังมากที่สุดคนหนึ่งของโลก เขาผูนั้นคือ เมาเซตุง (Mao Tse-tung) ผูนําประเทศจีนคอมมิวนิสต (ค.ศ.1893-1976)

เมา เซตุง (MAO TSE - TUNG)

เลนิน ไดขยายและพัฒนาแนวคิดดานการเมืองในการทําสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบของเคลาเซวิทซมาใชอยางไดผลในขณะที่ ลอเรนซก็ไดนําทฤษฎีดานการทหารของเคลาเซวิทซมาขยายความเพื่อเผยแพรตอ ในบทตอนตอไปนี้ จะชี้ใหเห็นกันวา เมาเซตุง (Mao tse-tung) ผูนําจีนคอมมิวนิสต ไดผสมผสานทฤษฎีทางการเมืองและทฤษฎีทางการทหารทั้งสองประการนี้เขาดวย และกําหนดเปนแผนยุทธศาสตรอันหลักแหลมขึ้นจนสามารถกอการปฏิวัติในประเทศจีนเปนผลสําเร็จอยางงดงามไดอยางไร ระหวางปลายป ค.ศ.1927 อันเปนวาระซึ่งเมาเซตุงไดเร่ิมงานทดลองทําตามหลักการจากแนวคิดของเขา ณ มณฑลอันแสนไกลในทางตอนใตของประเทศจีน โดยวิธีการที่เมาเซตุงไดนําเอาหลักสงครามกองโจรผนวกเขากับแนวความคิดของสงครามปฏิวัติ กําหนดเปนแผนการกอความไมสงบทั่วทุกมุมโลก จนเปนที่ยอมรับนับถือวาเมาคือผูวางทฤษฎีคนสําคัญและนักกอการหัวสมัยผูยิ่งใหญของการสงครามกองโจร เขาเบี่ยงเบนแนวคิดของปรมาจารยแตเกากอนคือ หลักปฏิบัติของมารคซ-เลนินดวยการหันไปสงเสริมการกอจลาจล โดยพวกชาวไรชาวนาจากปาหรือชนบทมากกวาที่จะใชการกอ

Page 21: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

21การจลาจลโดยชนกรรมาชีพ ซ่ึงเริ่มจากในเขต เมืองดวยการเจริญรอยตามขอเขียนของ เคลาเซวิทซ มารคซ เลนิน ซุนซู (sun Tzu) และรวมทั้งของลอเรนซอีกดวย เมาไดพัฒนาแนวความคิดการทําสงครามปฏิวัติ ที่ประมวลเอากฎและวิธีการดานการทหารดานการเมือง และดานจิตวิทยามารวมกันขึ้นแลวนําออกปฏิบัติการ ฉะนั้น ในขอเขียนของเมาเซตุง จะเห็นไดวาเขาไดเอาหลักเกณฑและวิธีการแตดั้งเดิมเหลานั้นมาผสมผสานกันเปนแผนยุทธศาสตรแนวหนึ่งที่ไดสรางความสําเร็จอันใหญยิ่งแกเขา การตอสูในประเทศจีนระหวางฝายนิยมลัทธิคอมมิวนิสตภายใตการนําของเมาเซตุง กับพรรคผูบริหารงานปกครองประเทศ คือ พรรคกกมินตั๋ง (Kaomintang) ของทานผูนํา จอมทัพเจียงไคเชค (Generalissimo Chaing Kai-shek) ไดเร่ิมเปดฉากขึ้นในตอนตนป ค.ศ.1927 กลาวคือ เมื่อใกลถึงป ค.ศ.1927 นั้น ความไมลงรอยกันระหวางพวกฝายซายในพรรคกกมินตั๋ง กับ จอมทัพเจียงไคเชค ไดทวีความรุนแรงขึ้น ความแตกตางทางความคิดมีสาเหตุมาจากความสลับซับซอนของความคิดดานการปกครองประเทศ การเศรษฐกิจและในความคิดเห็นของแตละบุคคลที่ไมเหมือนกัน คร้ันเมื่อเดือน เมษายน ปเดียวกัน เจียงไคเชคตัดสินใจวา บัดนี้ถึงเวลาอันควรที่ตองกําจัดพวกฝายคอมมิวนิสตกันเสียที จึงไดปฏิบัติการกวาดลางแบบถึงเลือดถึงชีวิตขึ้น แตก็ไมอาจจะทําลายฝายนิยมคอมมิวนิสตลงใหส้ินซากได ในฤดูใบไมผลิ ค.ศ.1927 ปเดียวกันนั้นเอง เมาเซตุง ก็ไดรวมกําลังกอการปฏิวัติซ่ึงมีช่ือเรียกวา " การปฏิวัติในหนาเก็บเกี่ยวฤดูใบไมรวง " (the Autumn Harvest Uprising) แตการกอการครั้งนี้ประสบความลมเหลว กองกําลังของเมาเซตุงตองถอยหลบหนีลึกเขาไปในแผนดินใหญ จนกระทั่งอีก 10 ปตอมา เมื่อญ่ีปุนยกกําลังบุกรุกแผนดินจีนใน ค.ศ.1937 นั้น เทากับเปนเหตุสงเสริมใหกองกําลังของเมาทวีความแกรงกลายิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันที่กองทัพของจอมทัพเจียงไคเชคตองออนกําลัง จนกระทั่งไดรับชัยชนะในป ค.ศ.1949 การสูรบระหวางสองพรรคใหญในจีนดังกลาวกินเวลายาวนานนับไดถึง 22 ปเต็ม ขณะที่การสูรบกับกองทหารญี่ปุนกําลังดําเนินอยูนั้น สาวกของเมาไดนําแนวนโยบายตามที่เมาไดเขียนขึ้นเอาไปเปนแนวทางการตอสูของเขาทั้งหลาย เมาเซตุงแสดงทัศนะเกี่ยวกับลักษณะของสงครามกูชาติของชาวจีนผูรักชาติ (สงครามปฏิวัติ)วามีดังตอไปนี้ - สมรภูมิของสงคราม คือ ประเทศกึ่งเมืองขึ้น ซ่ึงเปนประเทศที่งานดานการเมืองและการเศรษฐกิจดําเนินไปอยางไมเปนชิ้นเปนอัน - กองทัพแหงประเทศญี่ปุน (และกองทัพแหงชาติจีน) มีกําลังมหึมาและแข็งแกรง - กองทัพแดงของเมา มีกําลังนอยและออนแอ - ฝายตอตาน (กองกําลังกอความไมสงบ) อยูใตการนําของพรรคคอมมิวนิสตและประกอบดวยชาวไรชาวนาในชนบทเปนหลัก

Page 22: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

22 ลักษณะเหลานี้ ก็คือเงื่อนไขสําคัญ ๆ อยาง ที่เคลาเซวิทซไดอธิบายไววาเปนปจจัยแหงความสําเร็จที่จําเปนยิ่งในการทํา " สงครามประชาชน " โดยอาศัยเงื่อนไขในลักษณะเชนนี้ เมาไดกลาววา "..จะตองประเมินคาองคประกอบทุกอยางของฝายเราและฝายขาศึกเขาดวยกันอยางมีความหมายและกระจางชัด.." และไดช้ีตอไปวา "หนทางเพียงอยางเดียวที่จะเปนผูพิชิตชัยชนะในทายที่สุดได ก็ดวยการทําสงครามยึดเยื้ออยางตองตามแผนการณทางยุทธศาสตร .." แนวความคิดการทํา" สงครามยืดเยื้อ" นับเปนองคสําคัญของแผนการทางยุทธศาสตรของเมา เพราะอํานวยใหฝายที่ดอยพลังกวาสามารถใชปจจัยพื้นที่เขาแลกกับปจจัยเวลาจนถึงในจังหวะสุดทายจึงเขารบเอาชัยชนะตอกําลังที่มากกวาได เมาเซตุง ไดพินิจพิจารณาเห็นจริงตอไปดวยวา เพื่อที่จะไดรับชัยชนะเชนนั้นได " การตอสูขับเคี่ยว " จะตองดําเนินตามแนวทางสําคัญ 4 ประการ คือ ทางการทหาร การเมือง จิตวิทยาและดานการเศรษฐกิจ แนวความคิดของสงครามยึดเยื้อของเมา มีพื้นฐานอยูที่การทําสงครามลางผลาญและสงครามทําลายลาง (a war of attrition and a war of annihilation) เปนหลัก วัตถุประสงคทางทหารในการทําสงคราม ตามคําอธิบายของเมา คือ " การปกปกรักษาตน และการทําลายลางขาศึก....โดยการริดรอนพลังการตานทานของฝายนั้น " เมื่อปฏิบัติการนี้เปนผลสําเร็จ วัตถุประสงคสวนรวมคือการยึดอํานาจทางการเมืองและการดํารงรักษาไวก็สามารถบรรลุความสําเร็จได เมื่อเมาเซตุงกลาวถึงสงครามยึดเยื้อนั้น เขามักจะหมายถึงที่เกี่ยวของกับญี่ปุนโดยเฉพาะ แตกระนั้น เหตุการณตอสูกับพรรคกกมินตั๋งเมื่อคร้ังคราวกอนก็ยังไมลบเลือนไปจากความทรงจําของเมาเลย เมาเซตุงวาดภาพการสูรบในสงครามยืดเยื้อไวเปนขั้นตอนอยางชัดเจนโดยลําดับ แมการแบงขั้นตอนและการบรรยายลักษณะขั้นตอนตาง ๆ ไวเปน 3 ขั้นจะแปรเปลี่ยนไปบางในภายหลัง หรือในบางตอนของขอเขียนของเขาเองนั้น สาเหตุก็เปนเพราะสถานการณที่ผันผวนไปในแตละยุคแตละสมัยในจีนนั่นเอง ขั้นตอนตามลําดับ 3 ขั้นตอนที่ไดรับการกลาวขวัญกันอยางกวางขวางมากที่สุด ก็คือที่ไดกลาวไวในหนังสือเร่ือง " การทําสงครามยืดเยื้อ " (On Protracted War) ของเขา ดังนี้ - ขั้นการปองกันทางยุทธศาสตร (strategic defensive) - ขั้นการรั้งตรึงทางยุทธศาสตร (strategic stalemate) (การเตรียมการรุกโตตอบ) - ขั้นการรุกโตตอบทางยุทธศาสตร (strategic counteroffensive) ขั้นตอนทั้งหมดนี้ กลาวดวยเรื่องของวิธีการที่จีนสามารถนําไปใชเพื่อขับไลกองทหารญี่ปุนผูรุกรานไดเปนผลสําเร็จ

Page 23: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

23 ยิ่งไปกวานั้น ในหนังสือนี้ ลวนแลวแตเปน แนวคิดการทําสงครามปฏิวัติของเมาเกือบทั้งส้ิน เมาเซตุงยืนยันไววาปจจัยสําคัญเพื่อการพิชิตชัยชนะใน " สงครามประชาชน " นั้นมีอยู 4 ประการดังนี้ 1. องคการจัดตั้งในรูปแบบของพรรค พรรคที่จัดตั้งขึ้นคงเปนไปตามแบบของเลนิน คือ เปนคณะพรรคของพวกกอการปฏิวัติที่เกิดจากการรวมพลังกันอยางยิ่งใหญเครงครัดวินัยพรรค และไดรับการสั่งสอนใหซึมซาบในลัทธิดวยความเลื่อมใสอยางแรงกลา และเขารับผิดชอบเปนผูควบคุมการปฏิวัติ 2. การสนับสนุนจากมวลชน และเปนแนวรวมซึ่งเกิดจากความพรอมใจกัน การสนับสนุนของมวลชน สวนใหญจะตองไดจากชาวนาชาวไรผูยากจนในชนบท พรอมกับพยายาม " เอาชนะกลุมหรือชนชั้นสําคัญอื่น " หรือใหวางตัว " เปนกลาง " ไว 3. ปจจัยแหงชัยชนะประการที่สาม ไดแก กองทัพบก กองทัพบกซึ่งพรรคเปนผูจัดตั้งจะตองมีจิตใจจงรักภักดีในลัทธิมีขีดความสามารถสูงเยี่ยม เพื่อนําชัยชนะมาสูพรรค 4. ปจจัยที่ส่ีสุดทาย คือ บรรดาฐานปฏิวัติในปา หรือนัยหนึ่ง ฐานปฏิบัติการตามแผนยุทธศาสตร ฐานเหลานี้ ตองสามารถใหการชวยเหลือประชากรในทองถ่ิน พรรคและกองทัพบกไดในทางอุดมคติแลว ฐานควรอยูในภูมิประเทศยากลําบาก การคมนาคมเลวและถาเปนไปไดควรอยูโดดเดี่ยวในบริเวณเสนเขตปกครองที่คาบเกี่ยวซ่ึงกันและกัน หลักยุทธศาสตรของสงครามปฏิวัติ จากการศึกษาถึงขอเขียนของเมา ในกาลตอมาพบวา เมากําหนดหลักยุทธศาสตรการทําสงครามปฏิวัติไว 5 ประการ ซ่ึงเมาไดประมวลมาจากองคประกอบพื้นฐานทั้งมวล หลักยุทธศาสตรของสงครามปฏิวัติทั้ง 5 มีดังนี้ 1. ปองปกรักษาตน และทําลายลางฝายตรงขาม 2. ตั้งฐานที่มั่นทางยุทธศาสตร 3. ระดมมวลชน 4. แสวงหาความสนับสนุนจากภายนอก 5. รวมพลังความพยายามทั้งมวลใหเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ขั้นท่ีหนึ่ง : ขั้นการปองกัน เมื่อตอนเริ่มตนการสงคราม นักรบของฝายกอการซึ่งยังออนแอและจํานวนดอยกวาตองละเวนการเขารบปะทะอยางซึ่งหนากับทหารฝายรัฐบาลซึ่งแข็งแกรงกวา แตจะมุงอยูกับงานจัดตั้งพรรค และแสวงหาความสนับสนุนจากมวลชน อันเปนสิ่งที่ตองการยิ่งเมื่อการเคลื่อนไหวถึงวาระสุก

Page 24: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

24งอม ตามแนวคิดของเมา แรงสนับสนุนของ มวลชน ควรมาจากชาวนาชาวไรในชนบท ในขณะที่การนํามวลชนตองไปจากคณะพรรคคอมมิวนิสต พรรคจึงตองแข็งแกรง และมีวินัยเขมงวด ปรากฎเสมอวา การสรางพรรคเปนกระบวนการที่อาจใชเวลาในบางครั้ง จึงไมทันตอโอกาสที่เอื้ออํานวยใหแสดงพลังคัดคานทางการเมืองที่เกิดขึ้นก็มี กลาวกันวา พรรคคอมมิวนิสตแหงประเทศจีนใชเวลาถึง 5 ป จึงสามารถหาสมาชิก จํานวนหนึ่งพันคนแรกได ในการเอาชนะใจชาวนาชาวไร เมามีแนวความคิดชี้นําใหเพิ่มจํานวนสมาชิกชนชั้นนี้ใหไดมากที่สุด โดยเนนหนักชาวชนบทในปา ซ่ึงเมาคิดวาจะตองเปนพื้นที่ของการสูรบในวันขางหนา เมาเซตุง อธิบายใหเห็นถึงความสําคัญของพรรค โดยกลาววา "อํานาจรัฐยอมมาจากปากกระบอกปน กฎของเราก็คือพรรคบัญชาปน แตจะไมยอมใหปนมาบงการพรรค" ดังไดกลาวไวแลววาหลักการจัดตั้งของเมาเกี่ยวทั้งการนําทางทหารและการเมือง (ปกครองกันตามลําดับชั้นแบบคูขนาน parallel hiearchies) หลักขอนี้เปนไปอยางเครงครัดไมวาหนวยนั้น ๆ จะมีขนาดหรือมีกําเนิดที่มาอยางไร เขาเชื่อมั่นวาความเกี่ยวของกับการเมืองนั้นเปนเรื่องจําเปนที่ไมอาจหลีกเลี่ยงได เพราะ " ถาปราศจากจุดประสงคทางการเมือง (political goal) หรือแมจะมี แตถาวัตถุประสงคทางการเมือง (political objective) ไมสอดคลองตามความตองการของประชาชนทั้งสองประการนี้ การทําสงครามกองโจรยอมลมเหลวอยางสิ้นเชิง " เมื่อใดที่การจัดตั้งพัฒนากาวหนาขึ้นและความสนับสนุนจากประชาชนรวมกันเปนกลุมเปนกอน ก็หมายถึงวาพื้นที่ฐานที่มั่นไดกอเปนรูปเปนรางขึ้นแลว การตั้งฐานที่มั่นนั้น สืบเนื่องมาจากสาเหตุหลายประการ ฐานทางยุทธศาสตรตั้งขึ้นเพื่อใหหนวยหรือฝายการเมืองของคณะปฏิวัติสามารถควบคุมประชากรได เมาเนนความสําคัญของพื้นที่ฐานทางยุทธศาสตรดังไดกลาวไววา " ถาปราศจากฐานทางยุทธศาสตร ก็ไมมีส่ิงอ่ืนใดอีกแลวที่จะทําใหมั่นใจไดวา เราจะสามารถดําเนินภารกิจตามแผนยุทธศาสตร หรือปฏิบัติการใหบรรลุสูเปาหมายของการทําสงครามได " ฐานทางยุทธวิธีนั้นสวนใหญ ตั้งขึ้นเพื่อใชเปนพื้นที่ฝกกองโจร หรือเก็บรักษาเสบียง และสิ่งอุปกรณ ลักษณะของพื้นที่ฐานทางยุทธวิธีที่เหมาะสม มีดังนี้ 1. ภูมิประเทศยากลําบากและอยูหางจากระบบการขนสงที่ทันสมัย 2. พื้นดิน สามารถใชทําการเพาะปลูกได 3. ประชาชนในพื้นที่ มีความเปนมิตร 4. อากาศเหมาะตอการดูแลรักษานักรบกองโจรที่เจ็บปวย 5. หากเปนไปไดอยูใกลที่หนีภัยในตางแดน

Page 25: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

25 เมื่อกองกําลังกองโจรไดรับการฝกและจัด ประกอบหนวยอยางเปนผลคืบหนา ก็จําตองพัฒนาและขยายฐานที่มั่นมากแหงยิ่งขึ้น ดังนั้น ประชากรภายในฐานทีมั่นเหลานี้ก็จําตองจัดเปนตําบล หมูบานขึ้นเพื่อใหการสนับสนุนแกกองโจรและปฏิบัติการสูรบเพื่อการปฏิวัติไดเมื่อจําเปน คร้ันการจัดตั้งหนวยไดคืบหนาอยางถึงขนาด และตั้งพื้นที่ฐานที่มั่นไดแลว ก็ถึงคราวที่จะกาวยางจากทาทีอันสงบนิ่งในขั้นที่หนึ่งไปสูขั้นที่สอง ซ่ึงเพิ่มความมีชีวิตชีวายิ่งขึ้น ขั้นท่ีสอง : ขั้นการเตรียมการรุกโตตอบ ณ บัดนี้ ก็เปนวาระเริ่มตนของการปฏิบัติการอยางรุนแรงขึ้น กองกําลังปฏิวัติจะยังคงหลีกเลี่ยงการรบโดยเปดเผย แตจะมุงสรางสมกําลังคนและสิ่งอุปกรณและปฏิบัติการทางจิตวิทยา เพื่อปลูกฝงความเชื่อ ควบคุมและรวมพลังประชากรเปนลําดับสืบเรื่อยไป เมายืนยันไวเปนการสําคัญที่สุดวาขั้นตอนนี้เปนงานที่ไมอาจละเวนได และถึงแมนมีโอกาสอํานวยใหกองกําลังปฏิวัติก็จะตองไมเขายึดอํานาจ แคการยินยอมใหมีการประณีประณอมทางการเมือง ในตอนตน ๆ ของขั้นตอนที่สองนี้ ผูกอการรายเริ่มกอเหตุราย และกอวินาศกรรมหนักขึ้น แมเมาไมสนับสนุนการใชการขูคุกคามตามแบบลัทธิกอการรายก็ตาม แตเมาก็มิไดปฏิเสธจะไมใชเสียเลย หากจําเปนในเมื่อเกิดผลดีตอการปฏิบัติการของฝายปฏิวัติ เมื่อใดที่ฝายผูกอการมีกําลังคนแข็งแกรงสมบูรณเต็มที่ ก็จะเริ่มจุดชนวนสงครามกองโจรขึ้นอยางเต็มขนาดโดยทันที เมาไดอธิบายลักษณะของสงครามกองโจรไว ดังนี้ : เปนสงครามแบบหนึ่งซ่ึงผูกอการตองกระจายกําลังกันอยางมีแผนการณ เพื่อเล่ียงการเขาตีโดยตรงของขาศึกที่มีกําลังรบเหนือกวา : ดําเนินการตอสูดวยการรบทําลายลางตามแผนยุทธศาสตรที่วางไว โดยใชการกอเหตุวุนวายทางการเมืองขึ้นพรอมกันกับการเขาตีขั้นแตกหักอยางฉับพลัน การปฏิบัติการทั้งสองประการนี้ จะทุมเทปจจัยเพื่อความสําเร็จในทางยุทธวิธี ดังนี้ - ดวยการรวมกําลัง - มีความคลองตัว - ใชการจูโจม - ใชการลวง - เปนฝายดํารงความริเร่ิม - มีความออนตัว หรือปรับตัวเปลี่ยนสภาพได - ปฏิบัติการโดยไมหยุดหยอน

Page 26: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

26 : กองโจรดํารงชีพ อยูรอดปลอดภัยไดดวย ความชวยเหลือโดยตรงจากประชาชน และจะคอยกัดกรอนและบอนทําลายขวัญของกองกําลังฝายรัฐบาล บัดนี้จึงเห็นไดวาแนวความคิดการทําสงครามกองโจรที่เมาสนับสนุน หมายถึง การรวมการปฏิบัติการทางทหารและการเมืองเขาดวยกัน แลวประสมประสานดวยปจจัยความคลองตัว การจูโจม การดํารงความริเร่ิม การลวง และความออนตัวตามกาลเทศะ เมาแบงกําลังกองโจรของเขาเปนกลุมเล็กแยกปฏิบัติการโฆษณาปลุกระดมมวลชน คร้ันเมื่อถึงเวลาอันเหมาะก็จะรวมกําลังเขาปฏิบัติการโจมตีขั้นแตกหักตอฝายขาศึกอยางฉับพลัน ถึงอยางไรก็ตามในขั้นตอนที่สองนี้ เมาก็ยังไมตองการใหกําลังกองโจรเขาติดพันในการสูรบเพื่อหวังชัยชนะเด็ดขาด ดังที่เมาไดกลาวไววา " เมาไดปรับปรุงแตงแนวทางอันนี้อยางปราณีตบรรจงตอไปอีกวา "ความสามารถในการหลบหลีกเปนคุณลักษณะอันแยบยลอยางหนึ่งของกองโจร" วาทะอันเลื่องระบือที่สุดของเมาที่อรรถาธิบายลักษณะของกองโจรเปนคําอุปมาอุปไมยไวดังนี้" กองโจรเปรียบประหนึ่งมัจฉาที่วายวนอยูในหวงสมุทรแหงปวงประชา" คําแนะนําเปนแนวทางเพิ่มเติมในหลักการทําสงครามกองโจร 10 ประการ ของเมา ดังนี้ 1. โจมตีขาศึกที่ตองกระจายกําลังกันและถูกแยกใหอยูอยางโดดเดี่ยวกอน แลวจึงทุมกําลังเขาตีตอกําลังขาศึกที่แข็งแกรงในภายหลัง 2. เขายึดบานเมืองขนาดเล็ก และขนาดกลาง และขยายการครอบครองพื้นที่ในชนบทใหไดเสียกอน แลวจึงยึดเมืองใหญภายหลัง 3. ที่หมายหลักของเรา คือ การกวาดลางกําลังฝายขาศึกที่จะมีผลกระทบตอเรา การเขายึดหรือครอบครองเมืองหรือสถานที่แหงใดแหงหนึ่งนั้น มิใชที่หมายหลักของฝายเรา 4. ในการรบทุกครั้ง ระดมกําลังรบใหเหนือกวาขาศึกอยางเด็ดขาด โอบลอมกําลังขาศึกไวโดยส้ินเชิง ออกแรงกวาดลางขาศึกใหทั้งหมด อยาใหหนีรอดไปไดแมแตคนใดคนหนึ่ง 5. หลีกเลี่ยงการรบที่ไมไดเตรียมการไวลวงหนา อยาเขาสูรบ ถาไมแนใจวาจะเปนผูชนะ 6. รุกรบอยางเต็มกําลังตามแบบฉบับการรบของกองโจร จงดุรายเมื่ออยูในสนามรบ จงกลาหาญเมื่อจะตองสละชีวิต จงเด็ดเดี่ยวแมจะเหน็ดเหนื่อย และจงบุกบั่นตอสูเร่ือยไป 7. ใชความพยายามกวาดลางขาศึกใหได ขณะที่ขาศึกเคลื่อนที่ 8. ในกรณีที่ตองเขาโจมตีเมือง จงตั้งเปาเขายึดตําบลและเมืองที่มีการจัดการระวังปองกันแตเบาบางใหไดทั้งหมด 9. เพิ่มเติมอาวุธและกําลังคนที่ถูกจับใหเต็มอัตราอยูเสมอจากกองทัพ 10. ใชประโยชนจากหวงเวลาระหวางการรบแตละครั้งเพื่อการพักฟน ฝกและเสริมความแข็งแกรงใหแกนักรบกองโจร

Page 27: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

27 ขั้นท่ีสาม : ขั้นการรุกโตตอบทางยุทธศาสตร เมาเซตุง ไมไดคิดวา การปฏิบัติการของกองโจรโดยลําพังแตอยางเดียวจะสามารถหยิบยื่นความปราชัยใหแกขาศึกไดโดยส้ินเชิง เขาเชื่อวาจําตองใชการทําสงครามกองโจรอยูนานตราบเทาที่ขาศึกยังมีจํานวนเหนือกวาและมีอาวุธดีกวา อยางไรก็ตามเมื่อฝายรัฐบาลออนกําลังลง เนื่องจากถูกกดดันเพราะตองสูรบกับกองโจรและถากองโจรสามารถสรางสมกําลังทางทหารและอํานาจทางการเมืองไดตอไป เมาก็สนับสนุนใหคืบหนาตอจนเขาถึงขั้นตอนสุดทายของการทําสงครามกองโจร เขาไดกลาวเตือนวา ไมเปนการบังควรที่จะกาวเขาไปสูขั้นตอนนี้ จนกวจะมั่นใจวาตองไดรับชัยชนะในบั้นปลายอยางแนนอน ในขั้นที่สามของเมาเซตุง เขาไดกําหนดแนวทางไววา ฝายกองโจรตองมีกําลังพอที่จะปรับสภาพเปนหนวยกําลังรบตามแบบที่มีขีดความสามารถในขนาดทําสงครามกลางเมืองได เมาไดแยกใหเห็นปจจัยหลายประการที่จําตองคํานึงถึง ดังนี้ • การสนับสนุนจากประชาชน • ผลที่เกิดจากภูมิประเทศในพื้นที่เมื่อจะตองปฏิบัติการยุทธตามแบบ • ขาวสารขาศึก • การวางกําลังกองโจร •ผลกระทบที่เกิดจากการปฏิบัติการของกองโจรที่บังเกิดตอขวัญและกําลังใจของฝายขาศึก • ประสิทธิผลของการปฏิบัติการยุทธของฝายขาศึก การสงครามเคลื่อนท่ี (mobile warfare) เมาอธิบายวา การสงครามเคลื่อนที่เปนแบบหนึ่งของการยุทธตามแบบ ซ่ึงกองกําลังกอการปฏิวัติไดนําเอาคุณลักษณะของการรวมกําลังและความคลองตัวทางยุทธวิธีและทางยุทธศาสตรของการรบนี้ มาใชเพื่อทําใหเปนสงครามแบบทําลายลางขึ้น กองกําลังกอการปฏิวัติ ที่กลาวนี้จะทุมเทใชประโยชนจากการจูโจม การลวง การริเร่ิม ความออนตัว และการประสานงานกับกองกําลังกองโจร เมายึดถือแนวความคิดการรบทุกแบบตองมีความคลองตัวนับตั้งแตสงครามกองโจรไปจนกระทั่งถึงสงครามเคลื่อนที่ และเขาก็เชื่อวาไมเพียงแตกองโจรเทานั้นที่ตองมีความคลองตัว แตกองทัพสนามก็ตองมีขีดความสามารถ " ในการรุกเดินหนา และการรนถอยหลังเปนหวงระยะไกล ๆ ได " เชนกัน การทําสงครามเคลื่อนที่ยอมตองการยุทโธปกรณและสิ่งอุปกรณจํานวนมากกวาการทําสงครามกองโจร เมาเซตุงยอมรับความจริงขอนี้ในตอนตนป ค.ศ.1935 เมื่อเขาไดเขียนกลาวถึงวา " ทุกวันนี้

Page 28: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

28การตอสูเพื่อกอการปฏิวัติในชาติหรือประเทศใด ประเทศหนึ่งจําเปนตองไดรับความสนับสนุนจากบรรดาตางชาติทั้งหลายดวย " ในระหวางที่เมาเซตุงมีชัยชนะในจีนแผนดินใหญเมื่อป ค.ศ.1946 กองทหารโซเวียตที่รัสเซียไดมอบโอนสิ่งอุปกรณที่ยึดจากญี่ปุนใหแกกองกําลังของเมา และสิ่งเหลานี้ก็ไดพิสูจนใหเห็นถึงคุณคาอันสําคัญเมื่อถึงขั้นตอนสุดทายของสงครามยืดเยื้อนี้ ตลอดทุกขั้นตอนทั้งสามตามหลักนิยมของเมา เขาเนนใหเห็นอยางชัดเจนถึงการรวมและการประสานการดําเนินงานทางทหาร การเมือง และจิตวิทยาเขาดวยกัน ขีดความสามมรถในการจัดการใหงานทั้งสามนี้ดําเนินไปอยางเปนผลสําเร็จรวมกันได นับเปนหัวใจสําคัญของแผนการทางยุทธศาสตรอันเจิดจํารัสของเมา ในป ค.ศ.1965 นายพลลินเปยว (Lin Piao) ไดเผยแพรหลักนิยมการปฏิวัติของเมาเซตุงออกไปเพื่อครอบครองโลกแนวความคิดของเมาที่ใหใชฐานปฏิวัติตามแผนยุทธศาสตร เพื่อปดลอมเมืองและยึดเมืองในขั้นสุดทาย ไดถูกนําไปใชในชาติดอยพัฒนาทั้งหลายในทวีปเอเซีย แอฟริกา และลาตินอเมริกา และยุโรปตะวันตกในทายที่สุด หลักการตาง ๆ ที่เมาเซตุงไดประกาศใชสะทอนใหเห็นวา เมาไดศึกษาขอเขียนของเคลาเซวิทซ มารคซ เลนิน ซุนซู และอาจรวมทั้งของ ลอเรนซดวย อยางไรก็ดี เมาเซตุง ผูนี้แหละที่จัดการหลอหลอมแนวคิดทางทหารกับแนวคิดทางการเมืองเขาดวยกัน กําเนิดเปนปรัชญาและหลักนิยมขึ้น และสองสิ่งนี้ก็ไดบันดาลผลกระทบตอความเปนมาของสถานการณโลกโดยลําดับ มิติใหม ๆ ของการทําสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบไดผุดขึ้นมา เพราะความคิดของเมาเซตุง ในเรื่องตาง ๆ ดังนี้ - การกอเหตุจลาจลโดยเริ่มจากเขตชนบท - สงครามปฏิวัติ และขั้นตอนของสงครามปฏิวัติ - การจัดตั้งทหาร และการจัดตั้งทางการเมือง - ความสําคัญของพื้นฐานที่มั่น - การระดมมวลชน - การสนับสนุนจากภายนอก - วัตถุประสงคและหลักการของสงครามกองโจร ผลงานจากความคิดของเมาเซตุงเหลานี้ไดเปนที่ประจักษกันอยูในทุกวันนี้แลว และยิ่งไปกวานั้นยังเปนการชวยช้ีแนะแนวทางการทํางานใหแกบรรดานักปฏิวัติช้ันนําคนอื่น ๆ นําไปปฏิบัติตามอีกดวยดังเชน โว เงียน เกี๊ยบ (Vo Nguyen Giap) เปนตน

Page 29: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

29

โว เงียน เกี๊ยบ (VO NGUYEN GIAP)

นายพล โว เงียน เกี๊ยบ ไดช่ือวาเปนหนึ่งในบรรดาตัวอยางเจาตํารับลัทธิผูไดรับความสําเร็จอันใหญหลวงในการทําสงครามปฏิวัติของโลกยุคปจจุบันนี้ ในป ค.ศ.1941 โฮจิมินห (Ho Chi Minh) ไดพบ เกี๊ยบในประเทศจีน และไดมอบภารกิจใหจัดตั้งกองกําลังทหารพรรคคอมมิวนิสตขึ้นเพื่อตอสูกับฝร่ังเศสในอินโดจีน เกี๊ยบไดดําเนินรอยตามแผนการของเมาเซตุง คือ จัดกองทหารของเขาขึ้นจากประชาชนที่เปนชาวไรชาวนาในประเทศเวียดนาม และไดนํากองทัพเหลานี้ทําสงครามปฏิวัติจนสามารถเอาชนะตอฝายฝรั่งเศส โดยการทําสงครามชี้ขาดกันครั้งสุดทายที่เดียนเบียนฟู (Dien Bien Phu) เมื่อป ค.ศ.1954 แมวาตอไปนี้จะไดนําเอาขอเขียนสวนใหญของเกี๊ยบมาอรรถาธิบายก็ตาม แตพึงเขาใจไวกอนวา มีพยานหลักฐานหลายประการบงบอกวา เร่ือง จีน (Turong Chinh) ซ่ึงอดีตเปนเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตเวียดนามจนถึงป ค.ศ.1956 คือผูวางทฤษฎีทางทหารและเปนบุคคลผูมีอิทธิพลตอเกี๊ยบมากในดานแผนการณทางการยุทธศาสตรที่เกี๊ยบเชื่อถือและนํามาใชเบอนาด ฟอล (Bernard Fall) เชื่อวาการดําเนินงานของเกี๊ยบเมื่อตนทศวรรษรอบป ค.ศ.1950 นั้น สวนใหญเกี๊ยบไดจากการศึกษาผลงานขอเขียนของเทรือง จิน (เร่ือง " การปฏิวัติเมื่อเดือนสิงหาคม " และ "สูยอมชนะ" (The August Revolution and The Resistance Will Win) ยิ่งกวาไดจากของเมาเซตุง เกี๊ยบไดกลาวยกยองไวในหนังสือ " สงครามประชาชน และกองทัพประชาชน " (People's War, People'sArmy) ของเขาวา ขอเขียนของเทรือง จิน มี " สวนเสริมสงอันสําคัญ " ในการสรางความเขาใจอยางแจมแจงถึงแนวทางและนโยบายของสงครามตอตาน (Resistance War line) ของพรรค งานเขียนของเกี๊ยบเรื่อง People's War,People's Armyมีพื้นฐานจากประสบการณที่เขาไดรับระหวางที่ชาวเวียดนามตอสูขัดขวางฝายฝรั่งเศส ซ่ึงลงเอยกันดวยการลงนามในสนธิสัญญาขอตกลง ณ กรุงเจนีวาใน ค.ศ.1954 ยุทธศาสตรการปฏิวัติที่เกี๊ยบเขียนรางขึ้นเกือบจะเปนพิมพเดียวกับยุทธศาสตรที่เมาเซตุงไดพรรณาไว แกนแทของปรัชญาที่ถูกคนพบคือแนวความคิดการสืบหา " ความออนแอในความเขมแข็ง และความเขมแข็งในความออนแอ " ยุทธศาสตรขั้นพื้นฐานจึงมีกําเนิดมาจากแนวความคิดนี้ คือ ทําสงครามปฏิวัติใหเปนงานการเมืองอยางแทจริงโดยการปลุกระดมความเชื่อในลัทธิใหแกมวลชน แมยุทธศาสตรของเกี๊ยบโดยพื้นฐานจะเหมือนกับของเมาเซตุงก็ดี ก็ยังนับเปนความคุมคายิ่งนักที่จะคนหากันวาเกี๊ยบไดดัดแปลงเอายุทธศาสตรนี้เขากับภาวะแวดลอมของเวียดนามอยางไร

Page 30: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

30 เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติขึ้น ฝร่ังเศสจํา ใจตองถอนหนวยทหารชั้นดีเยี่ยมออกจากอินโดจีนของฝรั่งเศส เพื่อสงไปรวมรบในยุทธบริเวณทวีปยุโรป หลังจากที่ฝร่ังเศสตองพายแพแกเยอรมันในป ค.ศ.1940 บรรดาประเทศในอินโดจีนจึงเริ่มไดสัญญาณอันตรายจากภัยอิทธิพลของญี่ปุน ตอมาในปลายป ค.ศ.1941 อินโดจีนสวนที่เปนอาณานิคมของฝรั่งเศสก็ตกอยูในอุงมือของญี่ปุน แตกระนั้นก็ตามยังมีหนวยทหารจํานวนเล็กนอยและสวนบริหารอาณานิคมฝรั่งเศสที่ตกคางหลงเหลืออยูบาง คร้ันกอนที่ญี่ปุนจะกลับเปนฝายปราชัยในปลายป 1945 ญี่ปุนก็ไดกําจัดหนวยทหารและสวนบริหารอาณานิคมของฝรั่งเศสที่หลงเหลืออยูนั้นเสียทั้งหมด ณ บัดนี้ กลุมคอมมิวนิสตจึงสังเกตเห็นวาไดเกิดสูญญากาศทางการเมืองขึ้น จึงเหมาะที่ฝายตนจะฉกฉวยประโยชนและกอสถานการณไดแลว คร้ันเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ.1945 หลังจากวันทิ้งระเบิดปรมาณูลูกแรกเพียง 1 วัน " กองทัพปลดปลอยแหงเวียดนาม " (Vietnam Liberation Army) ก็ประกาศเผยโฉมหนาภายใตบงการของผูนําทัพซ่ึงผานการฝกจากกรุงมอสโควมาแลว เขาผูนั้นก็คือ โฮจิมินห (Ho Chi Minh) และเมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ.1945 ณ กรุงฮานอย โฮจิมินหก็ไดประกาศสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยแหงเวียดนาม (Democratic Republic of Vietnam) ขึ้น หลังจากที่บรรดาบุคคลคูแขงของเขาไดถูกสังหารผลาญชีวิต เพื่อแผวทางไปสูการสถาปนาครั้งนี้นับจํานวนคนแลวคนเลา ตนเดือนธันวาคม ค.ศ.1946 นั้นเอง เวียดมินหไดวางเครื่องกีดขวางปดกั้นถนนที่เขาสูเมืองทา ไฮฟอง (Haiphong) ทหารฝรั่งเศสพยายามเขาร้ือถอนแตก็ถูกพวกเวียดมินหโจมตี ฝร่ังเศสปฏิบัติการแกเผ็ดดวยการยิงถลมเมืองดวยปนใหญ คร้ันวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ.1946 เวียดมินหระดมการโจมตี ฝร่ังเศสทั่วทั้งอินโดจีน จากจุดนี้แหละเปนจุดเริ่มตนของการสงคราม 9 ป ซ่ึงนําไปสูการสูรบระหวางทหารฝรั่งเศสฝายหนึ่งกับกองกําลังเวียดมินหอันมีนายพล โว เงียน เกี๊ยบ (General Vo Nguyen Giap) เปนผูนําอีกฝายหนึ่ง วัตถุประสงคทั้งมวลของฝายคอมมิวนิตสเวียดนาม ก็คือ เอาชนะกองทหารฝรั่งเศส และเปลี่ยนรัฐบาลเวียดนามที่มีฝร่ังเศสหนุนหลัง เพื่อความสําเร็จตามวัตถุประสงคนี้เวียดมินหไดทุมเทความพยายามดานทหารทั้งหมด มุงเขาทําลายกําลังทหารฝายขาศึกใหราบคาบ ดวยการปฏิบัติการทําลายลางกําลังคนของฝายขาศึกแตเพียงอยางเดียว ยอมอํานวยใหฝายคอมมิวนิสตสามารถ: - สลายการรุกขนาดใหญของขาศึกได - ปองกันฐานที่มั่นและแนวหลังของฝายคอมมิวนิสต - กาวไปสูความเปนผูครองความริเร่ิมในการปฏิบัติการรบ - ปลดปลอยพื้นที่เพิ่มขึ้นทีละแหง ทายที่สุดสามารถทําลายกองทหารขาศึกไดทั้งหมด จนปลดปลอยประเทศไดทั้งประเทศ

Page 31: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

31 ดวยการดัดแปลงแผนการของเมาเซตุงมาใช เกี๊ยบไดกําหนดแผนยุทธศาสตรของสงครามปฏิวัติไวเปน 3 ขั้น คือ หนึ่ง : ขั้นชวงชิง (stage of contention) สอง : ขั้นรั้งตรึง (stage of equilibrium) สาม : ขั้นรุกโตตอบ (stage of counteroffensive) ในบางโอกาส เกี๊ยบเรียกขั้นตอนเหลานี้ดวยคําศัพทอ่ืน แตสําหรับการวิเคราะหในเอกสารเลมนี้ จะใชช่ือขั้นตอนดังกลาวแลว ขั้นชวงชิง (stage of contention) ในตอนเริ่มตนของขั้นชวงชิงเปนหวงเวลาของการจัดตั้งภายใตการชี้นําของพรรคคอมมิวนิสต ในขั้นนี้มีการจัดตั้งหนวยใตดินทางทหารและทางการเมือง(Political and military-infrastructure)เกี๊ยบ ไดเนนถึงหนึ่งในบรรดาลักษณะอันสําคัญยิ่งของสงครามปฏิวัติ คือ เปนแผนปฏิบัติการทางยุทธศาสตรซ่ึงมิใชเฉพาะในดานการทหารเพียงอยางเดียวเทานั้น แตจะตองใชวิถีทางการเมือง การเศรษฐกิจและดานวัฒนธรรมไปดวยพรอมกัน เขาแจงคําอรรถาธิบายไวอยางชัดเจนโดยกลาววา "กิจกรรมทางการเมือง ยอมสําคัญยิ่งกวากิจกรรมทางทหารและการสูรบสําคัญนอยกวาการโฆษณาขวนเชื่อ " อันวา "กิจกรรมทางการเมือง" (political activities) หมายถึง ความพยายามทั้งมวลที่มุงเอาชัยชนะตอชาวนาชาวไรใหบังเกิดความนิยมและไววางใจ เกี๊ยบยังไดเนนมากในการ "ระดม" (mobilizing) ชาวนาชาวไรภายใตการชี้นําโดยชนชั้นกรรมกร ขณะที่การจัดตั้ง (การปกครองโดยคณะตามลําดับชั้นแบบคูขนาน หรือการชี้นําทางการเมืองและการทหารอยางคูขนาน) ดําเนินอยู และมีการระดมประชาชนชาวไรชาวนาในชนบทนั้นก็จะมีการตั้งถ่ินฐานที่มั่นขึ้นดวย เกี๊ยบสงเสริมแนวทางการตั้งพื้นที่ฐานที่มั่นเพื่อใหฝกหนวยกําลังทางทหารและเปนแหลงกอตั้ง "คณะรัฐบาลผูบริหารประเทศชุดใหม "(The new government) ดวย ดังที่ไดกลาวไวแลวถึงคําประกาศของเมาเซตุงที่วา สงครามกองโจรจะบรรลุสูชัยชนะไดจําตองมีพื้นที่กวางขวางพอแกการดําเนินกลยุทธ (maneuver) และมีฐานที่มั่นหลาย ๆ แหงในพื้นที่หางไกล แตดวยปรากฎวาประเทศเวียดนามมีขนาดพื้นที่คอนขางเล็ก จึงไมสอดคลองตามแนวคิดขอนี้ของเมาเซตุงเทาใดนัก แตเกี๊ยบก็สามารถชดเชยขอจํากัดทางภูมิศาสตรนี้ดวยลักษณะภูมิประเทศที่ยากลําบาก และการตั้งฐานลึกเขาไปในประเทศจีน ลาว และกัมพูชา ซ่ึงนับเปน "ฐานที่มั่นในตางแดนที่อยูยงคงกระพัน (invulnerable foreign bases) และเปนแหลงจัดหายุทโธปกรณและแสวงหาความสนับสนุนทางการทูตได" เกี๊ยบมีความเห็นวา " พื้นที่สวนหลังที่มั่นคงแข็งแกรง เปนปจจัยเด็ดขาดที่ตัดสินชัยชนะของ

Page 32: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

32สงครามปฏิวัติไดเสมอ" ในขั้นที่หนึ่ง เกี๊ยบสนับสนุนใหปฏิบัติการดังนี้: - จัดตั้งหนวยทางการเมือง/การทหารขึ้นอยางมั่นคง - ใหไดมาซึ่งการสนับสนุนจากประชาชน - เกณฑและระดมชาวไรชาวนาในชนบทและตั้งพื้นฐานที่มั่นขึ้น - ในตอนปลาย ๆ ของขั้นที่หนึ่ง เร่ิมกอการราย วินาศกรรมและสงครามกองโจรขึ้น และ ณ บัดนี้ก็ถึงเวลากาวเขาสูขั้นที่สองตอไปแลว ขั้นรั้งตรึง (stage of equilibrium) ขั้นร้ังตรึงนี้ มักกลาวกันวาเปนขั้นตอนของ " การเผชิญหนา " (stalemate) กลาวคือ กําลังฝายปฏิวัติใชความพยายามใหบรรลุสูดุลยภาพ หรือใหมีจํานวนคนเหนือกวาฝายตรงกันขามโดยคอย ๆลางผลาญกองทหารอีกฝายหนึ่งทีละนอย ๆ ดวยการบุกโจมตีและซุมโจมตีระหวางขั้นที่สองนี้ เกี๊ยบมีความเชื่อวา เปนเรื่องจําเปนมากที่จะตอง " สะสมชัยชนะครั้งยอย ๆ ใหมากไวเปนจํานวนพัน ๆ ก็เสมือนหนึ่งเปนฝายไดรับความสําเร็จยิ่งใหญ อันจะทําใหดุลยภาพแหงอํานาจคอย ๆ เปลี่ยนแปรไป " ยุทธวิธีของกองโจรที่เกี๊ยบใชก็เหมือนกับที่เมาเซตุงใช ซ่ึงไดแกความคลองตัว การรักษาความลับ ความรวดเร็ว การรวบรวมขาวสาร และการหลีกล่ียงการสูญเสียเหลานี้แหละเปนหัวใจของยุทธวิธีกองโจร คติประจําใจที่เวียดมินหยึดถือเปนกฎใหกองโจรปฏิบัติตาม 7 ขอ ดังนี้ หนึ่ง : สรางการเขาตีลวง แลวเขาตี ณ ที่อ่ืน สอง : ทําตนลองหนหายตัวได เพื่อมิใหขาศึกทราบวาเราอยู ณ ที่ใด สาม : หลีกเลี่ยงที่มั่นแข็งแกรงของขาศึก เลือกเขาตีตรงจุดที่ออนแอเสมอ ส่ี : รูจังหวะรุก รูจังหวะถอย หา : เขาตี ทําลาย ถอนตัวอยางรวดเร็วจนขาศึกไมอาจเสริมกําลังไดทัน หก : อยาเขาสูรบ นอกจากจะแนใจในชัยชนะ เมื่อไมรบก็ตองถอนตัวเสีย เจ็ด : อยาใชกลยุทธซ้ํา ๆ ซาก ๆ ในขั้นสองนี่เอง ขณะที่การทําสงครามกองโจรทวีความรุนแรง กองโจรจะขยายพื้นที่ฐานที่มั่นและระดมกําลังประชาชนอยูตอไป และขยายหนวยจัดตั้งทางการเมืองอยางกวางขวางและมีพลังเขมแข็งขึ้นในทุกเขตพื้นที่ หนวยทางทหารอันประกอบดวยกําลังทหารประจําบาน ทหารประจําเขต และทหารประจําการตามแบบก็เพิ่มจํานวนขึ้นเรื่อย จนเมื่อกําลังพลมีมากเพียงพอ หนวยกองโจรขนาดเล็ก ๆ ก็เร่ิมรวมกันจัดตั้งเปนหนวยทหารประจําการตามแบบเพื่อรวมทําสงครามเคลื่อนที่ (moblile warfare) ตอไป การตกลงใจเปลี่ยนแบการสูรบจากสงครามกองโจรไปสูสงครามเคลื่อนที่เปนเรื่องที่เกี๊ยบใหความ

Page 33: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

33สนใจอยางมาก เพราะเขาตระหนักวา ณ จุดนี้เปน ตอนหนึ่งของหัวเล้ียวหัวตออันสําคัญที่สุดของการปฏิวัติ เกี๊ยบไดตั้งขอสังเกตถึงหัวขอสําคัญที่ตองพิจารณาไวหลายประการ ดังนี้ - อารมณของประชาชนหรือนัยหนึ่งความรูสึกนึกคิด - ความมั่นใจตอการไดรับการสนับสนุน - ความพรอมรบ และการฝกของหนวยกําลังของฝายตน - บรรยากาศของสถานการณระหวางประเทศ เกี๊ยบแถลงความคิดเหลานี้ของเขาไววา เราตองระวังระไวอยูตลอดเวลาตอจังหวะที่เปนโอกาส และจงทําความเขาใจถึงอารมณของมวลชน ตองประเมินสถานการณของโลกใหชัดเจนแตละยุคกาลสมัย เพื่อฉวยชองทางอันเหมาะ แลวช้ีนํากลุมมวลชนใหลุกฮือขึ้นกอการไดทันเวลา เกี๊ยบกลาวเนนความสําคัญวา ตองใหพรอมเสียกอนที่จะเริ่มกาวเขาสูขั้นตอนของสงครามเคลื่อนที่ เพราะเขาไดเคยรับบทเรียนจากความปราชัยของเขาเองตอฝร่ังเศสเมื่อป ค.ศ.1951 เนื่องจากเกี๊ยบไดรีบกาวไปสูขั้นการทําสงครามเคลื่อนที่เร็วเกินไป โดยนํากําลังเวียดมินหขนาดใหญทุมโจมตีกองทหารฝร่ังเศส ณ บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําแดง (Red River Delta) แตปรากฎวา กําลังของเขาถูกตีโตจนตองถอยกลับพรอมดวยความสูญเสียอยางหนัก จนตองหวนกลับไปทําสงครามกองโจรตอไปใหม อยางไรก็ตาม ตอมาเมื่อสถานการณอํานวย เกี๊ยบก็หนุนใหเปลี่ยนแบบการรบจากสงครามกองโจรกลับไปสู " การรุกโตตอบ " (counteroffensive) หรือ สงครามเคลื่อนที่จนได ขั้นการรุกโตตอบ (stage of counteroffensive) ลักษณะของ " การรุกโตตอบ " โดยทั่วไปนั้นมิไดหมายถึงแคการทําสงครามเคลื่อนที่เทานั้น แตหมายรวมถึงการสงครามที่มั่น (positional warfare) ในบางโอกาสพรอมกับทั้งยังคงทําสงครามกองโจรตอไปดวย แตลดบทบาทเปนอันดับรองลงไปวัตถุประสงคหลักของขั้นนี้ ก็คือ ทําลายกําลังฝายรัฐบาล ดวยการใชยุทธวิธีรบตามแบบมากขึ้น แตลักษณะการตอสูยังคงรักษาแบบวิธีการของกองโจรไวหลายอยาง และการสูรบขั้นแตกหัก จะกระทําเมื่อจําเปนเทานั้นและตอเมื่อแนใจในชัยชนะ เกี๊ยบ ไดอธิบายไววา : การทําสงครามเคลื่อนที่เปนวิธีการรบอยางกองทหารที่ระดมกําลังเขารวมกัน อันมีกองทัพประจําการซึ่งจัดประกอบขึ้นดวยหนวยทหารขนาดใหญหลายหมูเหลา และเขาปฏิบัติการยุทธในสมรภูมิที่กวางขวางขึ้น เปนการเขาโจมตีขาศึก ณ ตําบลตรงที่ขาศึกเปดโอกาสดวยความมุงหมายเพื่อทําลายลางกําลังพลของขาศึกเปนการรุกเคลื่อนที่ลึกเขาไปอยางเต็มที่ และถอนตัวไดโดยฉับพลัน ครองลักษณะของความหนักหนวง ไมหยุดนิ่ง ริเร่ิมคลองตัวและความรวดเร็วในการตกลงใจเมื่อเผชิญสถานการณที่เกิดใหมได

Page 34: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

34 ในระหวางขั้นตอนของสงครามเคลื่อน ที่นี้ เกี๊ยบเพงเล็งอยางมากในเรื่องอัตราความสมดุลอันเหมาะสมระหวางกองกําลังประจําการกับกําลังกองโจร เร่ืองการสนับสนุนจากภายนอก สถานการณระหวางประเทศ และการยุยงใหประชาชนกอการจลาจลทั่วไป (general uprising) เขาเนนไวดวยวาตองเตรียมแผนกอบกูและพัฒนาฐานะทางเศรษฐกิจใหไดโดยทันทีที่บรรลุชัยชนะ ตามคําแนะนําที่ไดกลาวแลว เกี๊ยบจึงไมสนับสนุนใหกลุมกองโจรทุกกลุมตองรวมตัวกันเปนกองกําลังทหารประจําการตามแบบเสียทั้งหมด เพราะเขายืนยันวา การปฏิบัติการของกองโจร ยังคงเปนส่ิงจําเปนเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการของกําลังรบตามแบบอยู ดังจะเห็นไดวาในประเทศเวียดนาม ชาวเวียดนามเหนือ รับราชการสวนใหญเปนทหารประจําการตามแบบ ในขณะที่พวกเวียดกง (Vietcong) ยังคงปฏิบัติการในแบบสงครามกองโจรอยูตอไป อุทาหรณที่แสดงถึงความสนใจของเกี๊ยบ ในเรื่องบรรยากาศของสถานการณระหวางประเทศก็ไดแก การทําสงครามเดียนเบียนฟู กลาวคือ เกี๊ยบไดวางแผนทําสงครามขั้นเด็ดขาดนี้ใหไดชัยชนะกอนที่จะเริ่มมีการประชุมที่กรุงเจนีวา (Geneva) เพื่อใหคอมมิวนิสตเวียดนามมีฐานะที่แข็งกราวบนโตะการเจรจาตอรองครั้งนี้ได การดําเนินความพยายามของเวียดนามหลายเรื่องหลายประการตามแบบของเกี๊ยบนั้น มุงเพื่อหลอหลอมบรรยากาศของนานาประเทศแวดลอมใหตอตานการดําเนินการทุกอยางของสหรัฐฯ และใหเกิดความเห็นอกเห็นใจจนคลอยไปตามวัตถุประสงคของฝายคอมมิวนิสต เปนที่ทราบกันดีวา ทฤษฎีของเกี๊ยบสวนใหญกับทฤษฎีของเมาเซตุงนั้นเปรียบเสมือนเสนคูขนานที่ไมมีทางจะบรรจบพบกันได แนวคิดเกี่ยวกับ " การกอการจลาจลทั่วไป " (general uprising) ของเขา เกิดเปนองคประกอบใหมอีกอยางหนึ่งของสงครามปฏิวัติ เกี๊ยบมิใชผูกอกําเนิดแนวคิดทฤษฎี "การจลาจลทั่วไป" แตสําหรับความคิดนี้ หากไดยอนไปดูจากตํานานคอมมิวนิสตเดิมก็นาจะมาจากนิยายปรัมปราเรื่อง "การนัดหยุดงานทั่วไป " (general strike) นั่นเอง ยิ่งกวานั้นอันเนื่องมาจากการจัดตั้งแนวรวมปลดปลอยแหงชาติในเวียดนามใต (the National Liberation Front in South Vietnam) นั้นไดกลับกลายเปนหลักนิยมเบื้องตนของการจัดตั้ง หลักนิยมนี้ตองการกอใหเกิดความสํานึก เพื่อการปฏิวัติขึ้นในขอบเขตอันหนึ่ง ณ จังหวะอันเหมาะที่จะทําใหเกิดการรวมกอจลาจลกันขึ้นเอง โดยไมตองมีใครกระตุนและแลวประชาชนทั้งมวล ซ่ึงแนนอนดวยการชี้นําโดยพรรคก็จะเขายึดอํานาจทางการเมืองได ตัวอยางความพยายามของเกี๊ยบที่สงเสริมใหเกิด " การจลาจลทั่วไป " ไดแก การรุกในเทศกาลตรุษญวนป ค.ศ.1968 (The 1968 TET offensive) จุดประสงคของเกี๊ยบ 3 ประการ ไดแก หนึ่ง เขาโจมตีกองกําลังทหารสหรัฐฯ (โดยเฉพาะกําลังทางอากาศ) สอง ละลายกองทัพฝายเวียดนามใต และประการสุดทาย ก็คือ สงเสริมใหเกิด " การจลาจลทั่วไป " เกี๊ยบทุมความพยายามอยางหนักเพื่อกอใหเกิดการตอสูทางการเมืองในเมืองใหญ ๆ ของเวียดนามใตที่มีประชากรอยูหนาแนน พลพรรคที่เปนแกนการเมืองปฏิบัติงานอยูทั่วไปในพื้นที่อันเปนแหลงที่อยูอาศัยของเวียดนามใต โดยประสานงานกันกับ

Page 35: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

35การปฏิบัติการทางทหารดวย เกี๊ยบไดใชความ พยายามสรางอิทธิพลเหนืออารมณชาวเวียดนามใตจนถึงระดับที่เมื่อมีการปฏิบัติการทางทหารขึ้นแลว ชาวเวียดนามใตจะตองหันมาใหการสนับสนุนโดยทันทีตอฝายคอมมิวนิสต และรวมกันลมลางรัฐบาลของเวียดนามใต หากเกี๊ยบบรรลุความสําเร็จโดย ไดรับการสนับสนุนจากประชาชนเวียดนามใตอยางเปนกอบเปนกํา ก็ยอมเปนเรื่องแสนยากที่จะรักษารัฐบาลเวียดนามใตใหรอดพนจากการตกไปอยูในอุงมือของฝายคอมมิวนิสต อยางไรก็ตาม เหตุการณที่ผานมา ก็ยังนับวามีการสนับสนุนจากประชาชนบางแตเปนเพียงบางสวน เกี๊ยบมิไดพิถีพิถันตอนัยความสําคัญของการสนับสนุนจากภายนอกเทาใดนัก อยางไรก็ตาม เขาก็ตระหนักแนวา การสนับสนุนจากภายนอกมีความสําคัญยิ่งในระหวางขั้นสุดทายของการทําสงคราม เกี๊ยบมอบความไววางใจอยางสูงตอการสนับสนุนจากประเทศจีนในขั้นตอนทาย ๆ ของการตอสูกับฝร่ังเศส และโดยเฉพาะในระหวางการทําสงครามเดียนเบียนฟู และเกี๊ยบก็คงไดรับการสนับสนุนจากจีนโดยตลอดมา แตในปจจุบันไดหันไปพึ่งพาจากฝายรัสเซียแลว เกี๊ยบ ไดกลาวสรุปผลแหงชัยชนะที่เขาไดรับเหนือฝายฝรั่งเศสไวดังนี้ หากจะกลาวถึงปจจัยแหงชัยชนะอยางสรุปรวมงาย ๆ แลว สงครามตอตานซึ่งประชาชนของเราไดลงมือทําจนไดรับความสําเร็จนั้น ยอมเปนหนี้บุญคุณตอบรรดาสิ่งเหลานี้ คือ หนึ่ง : การชี้นําพรรคของชนชั้นกรรมาชีพ สอง : ตอขอความจริงที่พรรคของเราสามารถเขาถึงแกนแทที่เปนปญหาของชาวไรชาวนาและสามารถจัดตั้งแนวรวมแหงชาติไดอยางกวางขวาง (the broad National United Front) บนพื้นฐานความเปนพันธมิตรอันแนนแฟนระหวางชาวนากับกรรมกร สาม : เนื่องจากเรามีกองทัพประชาชนผูกลาหาญ ส่ี : เนื่องจากอํานาจรัฐเปนของประชาชนในประเทศเมืองพี่เมืองนองทั้งหลายของ เราอยางแทจริง และของปวงประชาชนผูรักสันติในโลกรวมถึงของประชาชนชาวฝรั่งเศสทั้งหลายดวย เวียดมินหไดใชแตละขั้นตอนของแผนยุทธศาสตรสามขั้นของเกี๊ยบในการตอสูกับฝรั่งเศส ถาจะกลาวอยางรวมความเปนหวงเวลาแตละขั้นกันแลว ดังนี้ ขั้นที่หนึ่ง : จากป ค.ศ.1930 ถึง ค.ศ.1945 ขั้นที่สอง : จากป ค.ศ.1945 ถึง ค.ศ.1953 นึ่นคือจนกระทั่งถึงเมื่อมีการเจรจาสงบ ศึกกรุงเจนีวา เมื่อป ค.ศ.1954 จนถึง ณ จุดนี้ นับไดวาแผนยุทธศาสตรของเกี๊ยบไดถูกนํามาทดสอบใชอยางเปนผลสําเร็จ ขั้นที่สาม : การตอสูในเวียดนามใตทุกวันนี้ อันเปนความพยายามพิสูจนถึงงานในขั้นตอนสุดทายของแผนยุทธศาสตรสงครามปฏิวัติของพรรคคอมมิวนิสต ซ่ึงจนบัดนี้ก็ยังไมบรรลุความสําเร็จ

Page 36: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

36เอาเสียเลย แมแนวคิดของเกี๊ยบสวนใหญจะไมตรงกับของเมาเซตุงทั้งหมด เกี๊ยบก็คงดําเนินงานไปตามแผนยุทธศาสตรของเขาเอง โดยคํานึงถึงความสําคัญของปจจัยตาง ๆ อันไดแก : - สถานการณระหวางประเทศ - การสนับสนุนจากภายนอกประเทศ - การประกอบกําลังรวมกันอยางเหมาะสมของกองโจรกับกองทหารประจําการตามแบบ - การตัดสินใจในจังหวะที่สําคัญ เพื่อพัฒนารูปแบบของสงคราม จากสงครามกองโจรไปสูสงครามเคลื่อนที่ - การสงเสริมใหเกิดการจลาจลทั่วไป และปจจัยเหลานี้ จึงถือเปนองคประกอบเพิ่มเติมที่สําคัญอีกสวนหนึ่งใหแกศิลปการทําสงครามปฏิวัติในกาลตอมา นักปฏิวัติผูนิยมลัทธิคอมมิวนิสตอีกผูหนึ่งที่รับอิทธิพลจากทฤษฎีของเมาเซตุงไปใชไดแก เช เกวารา (Che Guevara) กับ บุคคลอีกผูหนึ่งซ่ึงอยูในฐานะผูติดตามสังเกตการณโดยใกลชิด ตลอดระยะเวลาของการปฏิวัติในคิวบา คือ เรจิส เดบเร (Regis Debre) เขาผูนี้ไดทํางานรวมกับเกวารา โดยเฉพาะในตอนสุดทายของความพยายามครั้งสุดทาย คือ การกอการปฏิวัติในโบลิเวีย (Bolivia) ในฐานะผูวิเคราะหทบทวนงานของเกวารา เดบเร ไดถือโอกาสขยายหวงเวลาการดําเนินงานของเกวารา ในคิวบาใหทอดคลุมเขาไปสูโบลิเวีย ในขณะที่ โวเงียนเกี๊ยบทํางานเจริญรอยตามเมาเซตุงนั้น ทั้งเกวารา กับ เดบเร สองคนนี้ควรไดรับนับถือวาเปนสานุศิษยของทั้งเมาและเกี๊ยบดวย ดังนั้น ในตอนตอไปจึงเปนการนําเอาแนวคิดของ เกวารา และ เดบเร มาแสดงเพื่อประดับปญญากันโดยลําดับ

เออเนสโต เกวารา/เรจิส เดบเร (ERNESTO GUEVARA/REGIS DEBRAY)

เออเนสโต (เช) เกวารา ผูเปนมันสมองการดําเนินงานกองโจรของ คาสโต (Castro) ในคิวบาเปนบุคคลหนึ่งในบรรดานักคิดวางทฤษฎีของสงครามปฏิวัติคนลาสุด อยางไรก็ตาม ขอเขียนของเขา เชน สงครามกองโจร (On Guerrilla Warfare) สวนใหญมักจะกลาวถึงสงครามกองโจรในทัศนะทางทหาร และบรรยายไวในแงมุมทางยุทธวิธี สวนเรจิส เดบเร ผูซ่ึงในบางโอกาสก็ไดรับการยกยองวาเปนนักคิดทฤษฎีและเจาตํารับชั้นนําของโลกแหงขบวนการปฏิวัติในลาตินอเมริกา เปนผูเพิ่มเติมส่ิงที่ยังขาด ไดแก ทัศนะทางการเมืองและการจัดตั้งเมื่อเขาไดเผยแพรหนังสือของเขาเรื่อง " การปฏิวัติซอน

Page 37: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

37หรือ " (Revolution in the Revolution ?) หนังสือ นี้ สะทอนใหเห็นถึงความคิดดานยุทธศาสตรของคาสโตรและเกวรา เนื่องจาก เกวารา ไดเขียนบรรยายในระดับของยุทธวิธี สวน เดบเร เขียนในระดับยุทธศาสตร จึงเปนความจําเปนที่ตองประมวลแนวความคิดของบุคคลทั้งสอง เขาดวยกันเพื่อใหเห็นทัศนะสวนรวมในกุศโลบายที่เราเรียกกันวาเปน ยุทธศาสตรการปฏิวัติ " แบบคิวบา " ดังนั้น กอนอ่ืนจึงควรสาธะยายเรื่องแตละระดับนั้นกอน ดังตอไปนี้ วัตถุประสงคดั้งเดิมของขอเขียนของเขาทั้งสอง นับวาแตกตางไปจากเจาตํารับทั้งหลายที่ไดกลาวถึงมากอนแลว คือ แทนที่จะวางขอบเขตครอบคุลมไปทั่วโลก เขาเพียงแตมุงเปาหมายใหเปนตํารับที่ใชกันเฉพาะในทวีปลาตินอเมริกา ขอเขียนนี้มีพื้นฐานจากประสบการณในคิวบาในยุคที่คาสโตรประสบชัยชนะในการลมลางระบอบเผด็จการของบาติสตา (Batista) วัตถุประสงคโดยสวนรวมของยุทธศาสตรขอบบุคคลทั้งสอง โดยหลักการแลวก็เหมือนกันกับยุทธศาสตรของเมาเซตุง และ เกี๊ยบ นั่นก็คือ งานลมลางรัฐบาลในปจจุบัน แตอยางไรก็ตามยุทธศาสตรที่ทั้งสองใชจนบรรลุความสําเร็จในงานนี้ มีความผิดแตกตางออกไปพอสมควร ความสําเร็จของการปฏิวัติในคิวบา ทําใหเกวาราไดขอสรุปขั้นพื้นฐานของการปฏิวัติโดยใชอาวุธในทวีปอเมริกา ไว 3 ประการ ดังนี้ หนึ่ง : กองกําลังประชาชนสามารถเอาชนะในสงครามตอสูกับทหารในกองทัพของรัฐได สอง : ใคร ๆ ก็อาจสรางสถานการณเพื่อการปฏิวัติใหบังเกิดขึ้นไดโดยไมตองเอาแต รอคอย สาม : ในประเทศดอยพัฒนาแหงทวีปอเมริกา สมรภูมิที่เหมาะแกการกอการปฏิวัติ ไดแก เขตชนบท ขอสรุปเหลานี้ คือ หลักพื้นฐานแนวความคิดการกอสงครามปฏิวัติของ เกวารา และของเดบเรในแบบที่เนนดานการทหารวาสําคัญยิ่งกวาการเมือง จากการศึกษาถึงพฤติการณการปฏิวัติในคิวบา เดบเร และ เกวารา ไดแบงยุทธศาสตรของเขาออกเปน 3 ขั้นตอน คลายกับที่ไดกลาวกันมาแลวในเบื้องตน คือ 1. ขั้นท่ีหนึ่ง ไดแก ขั้นการตั้งมั่น (stage of establishment) 2. ขั้นท่ีสอง ไดแก ขั้นพัฒนา (stage of development) 3. ขั้นท่ีสาม ไดแก ขั้นการรุกปฏิวัติ (stage of revolutionary offensive) เกวารา ไดอธิบายขั้นตอนทั้งสามไว ดังนี้ ขั้นท่ีหนึ่ง : ขั้นการตั้งมั่น (Stage of Establishment)

Page 38: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

38 ขั้นแรกพวกติดอาวุธสวนยอยพวกหนึ่งจะ หลบหลี้หนีภัยไปอยูในตําบลหางไกลและยากที่จะเขาไปถึงได พวกนี้จะโจมตีกลาวรายทางราชการ โดยมีชาวนา ชาวไร ที่มีความคิดไมพออกพอใจรัฐอยูแลว และพวกถืออุดมการณวัยรุนและพวกอื่น ๆ จํานวนแตนอยเขารวมงานในตอนตน ตั้งตนเปนขาราชการประจําการและทําตัวเปนรัฐบาลคณะยอยขึ้นกอนตอสูขัดขวางการปราบปรามของฝายรัฐ ยึดอาวุธใหไดมาก ๆ แลวติดอาวุธนั้นใหแกพลรบกองโจรเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในขณะเดียวกันสรางแกนเพิ่มพรอมกับแสวงหาความสนับสนุนใหม ๆ จากพื้นที่อ่ืนตอไปอีก คร้ันเมื่อสามารถกอวินาศกรรม สรางความชะงักงันดานการสงกําลังบํารุงและสรางความออนเปลี้ยใหแกกําลังรบฝายตรงขามดวยการปฏิบัติการแบบลางผลาญแลว ฝายกองโจรก็ฉวยโอกาสการริเร่ิมปฏิบัติการเขาตีในทุกแนวรบที่ฝายตนกําหนดขึ้น ขาศึกก็ไมอาจยืนหยัดอยูไดจนกําลังสวนที่เหลือก็ยอมตองยอมจํานนในที่สุด.. ถึงแมทัศนะทางทหารหรือของกองโจรตามแผนยุทธศาสตรคิวบานี้ จะเหมือนกันอยางมากกับของเมาเซตุง แตในทัศนะทางการเมืองและการจัดตั้งแลว แตกตางกันอยางเด็ดขาด คงจะจํากันไดวา ตามทฤษฎีของเมา กําหนดใหการทหารเปนรองจากการเมือง (อยูใตพรรค) แตสําหรับเดบเรแลวยืนยันวา"ไมมีแนวรวมทางการเมืองอันใด..สามารถสวมบทบาทความเปนผูช้ีนําสงครามประชาชนได.." เขาไดกลาวขยายความละเอียดตอไปวา " ส่ิงที่ควรเนนใหหนัก คือ การพัฒนาการทําสงครามกองโจร มิใชการเสริมสรางความแข็งแกรงใหแกคณะพรรคที่มีอยูเดิมหรือสรางพรรคขึ้นใหม จนกวาจะไดสาธยายถึงขั้นตอนของแผนยุทธศาสตร " แบบคิวบา " ในรายละเอียดตอนตอ ๆ ไปจึงจะทําใหเห็นถึงความแตกตางอยางเดนชัดระหวางแนวความคิดของเดบเรกับแนวคิดของเมาเซตุงได ในขั้นตอนเริ่มแรกอันเปนขั้นการตั้งมั่นนี้ ความสนใจอันดับแรกจะมุงไปสูการจัดตั้งแกนกลางติดอาวุธหัวเห็ด (a hard core armed nucleus) ขึ้นพวกหนึ่ง เกวาราเชื่อวาการเริ่มงานสงครามปฏิวัติไมควรตองเสียเวลารอชาใหเนิ่นนานไปดวย สาเหตุเพียงเพราะตองการเลือกเฟน รวบรวมคนที่เหมาะสม เขาเชื่อวา การเริ่มสงครามอาจพัฒนาขึ้นไดดวยการปฏิบัติการดวยอาวุธโดย "แกนกองโจ "(guerrilla foco) หนวยหนึ่งเปนหนวยเริ่มลงมือกอน แนวความคิดนี้มีหลักการคือแสดงใหประชาชน เห็นวาความอยุติธรรมในสังคมไมอาจขจัดใหลดไปไดโดยการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีเพียงถายเดียวเทานั้นกลุมแกนหัวเห็ดอันประกอบดวยกําลังคน 30 ถึง 50 คนนี้ (แกนกองโจร) นอกจากปฏิบัติการโดยใชอาวุธแลว ยังทําหนาที่เปน " ผูบุกเบิกทางการเมือง ซ่ึงอาจจัดตั้งเปนพรรคขนานแทขึ้นได " เดบเรสนับสนุนวา ตําแหนงหัวหนาผูนํานั้นสมควรยกให แกบุคคลผูสอแวววามีความสามารถทางทหาร " และคนเหลานี้แหละที่ควรมอบหมาย "ความรับผิดชอบดานการเมือง" ใหดวยเขายังยืนยันตอไปวา "จะเปนเรื่องแสนประหลาดชอบกลอยูที่แกนการเมืองไมจําตองเปนแกนทางทหารไปดวยพรอม ๆ

Page 39: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

39กัน" เพราะฉะนั้น เดบเรจึงสงเสริมมิใหแยก การเมืองและการทหารออกจากกัน แตจะตองรวมกันขึ้นเปนองคเพียงหนึ่งเดียว ประกอบขึ้นเปน "กองทัพประชาชน" ซ่ึงแกนสําคัญก็คือทัพกองโจร แตถึงแมวาจะไดย้ํากันนักย้ํากันหนาถึงความสําคัยของแกนกลางติดอาวุธก็ตามที เกวาราและเดบเรตางก็ยอมรับวา กําลังกองโจรสวนใหญยอมมาจากชาวไรชาวนา ดังที่เกวาราไดกลาววา "สงครามกองโจร คือ การตอสูของมวลชนจํานวนมาก อันมีกลุมโจรทําหนาที่เปนแกนกลางติดอาวุธ " ในระหวางขั้นที่หนึ่งนี้ เกวาราเนนในเรื่องการหาสมาชิกใหมและการฝกฝนบรรดาผูนํากองโจรใหนิยมวิธีการปฏิวัติดวยแกนกลางติดอาวุธ เขาไมไดสนับสนุนใหมีการตั้งพื้นฐานที่มั่นแบบปราณีตในหวงเวลาตอนตน ๆ ของขั้นแรกนี้ เขาเพงเล็งในเรื่องความคลองตัว เนื่องจากพิจารณาเห็นวาการระวัง รักษาความปลอดภัยเปนเรื่องที่สําคัญยิ่งยวด เกวาราแสดงหลักปรัชญาขอนี้โดยไดเขียนกลาวไววา " กองโจรครองชีวิตอยูได เพราะความคลองตัว และฐานที่มั่นของโจรก็คือเครื่องสนามที่แบกอยูบนหลัง" ขั้นท่ีสอง : ขั้นการพัฒนา (Stage of Development) เมื่อใดที่แกนกลางติดอาวุธเปนที่นิยมของประชาชนและมีกําลังเพิ่มมากขึ้น ก็ถึงกาลสมควรกาวเขาสูขั้นการพัฒนา อันเปนขั้นที่สองในแผนยุทธศาสตรของ เกวารา และเดบเร ความสําคัญของขั้นนี้ ไดแก การกอตั้งพื้นฐานที่มั่นอยางถาวรขึ้น แนวความคิดของเกวาราเกี่ยวกับพื้นที่ฐานที่มั่นถาวรนี้ก็คือ พื้นที่อันหนึ่งที่สามารถปฏิบัติการสนับสนุนไดอยางเต็มขนาดแกกําลังกองโจร รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของกองโจร การสงกําลังการฝก และสิ่งอํานวยความสะดวกในการรักษาพยาบาล การติดตอคมนาคม และการบริการไปรษณีย ระหวางขั้นตอนนี้ การทําสงครามกองโจรจะทวีเกณฑความรุนแรงขึ้นในระดับเดียวกันกับที่เมาเซตุงและโวเงียนเกี๊ยบกําหนดแนวเอาไว ซ่ึงทั้งเมาและเกี๊ยบตางก็ทุมความพยายามทั้งมวลเพื่อทําสงความกองโจรขึ้นในชนบท แตเกวาราและเดบเรสองคนนี้เทานั้นที่สนใจการทําสงครามในเขตชานเมือง (Suburban) และใชปฏิบัติการกอการรายมากกวาที่สองสหายผูรวมลัทธิแหงดินแดนตะวันออกไกลนั้นจะคิดทํา เกวาราเชื่อวาหนวยกองโจรขนาดเล็กๆ ในเขตชานเมืองสามารถชวยสนับสนุนการกอการทั้งหมดได และยิ่งถาไดวางแผนและนําไปปฏิบัติไดอยางเหมาะสม ก็สามารถ" สรางความชะงักงันโดยส้ินเชิงแกชีวิตประจําวันในเขตพื้นที่หนึ่งนั้นได" เขาโตแยงวาไดมีการมองขามคุณคาของการรบในแบบกองโจรในเขตชานเมือง และไดสาธยายโดยละเอียดถึงผลการปฏิบัติงานของกองโจรที่จะกระทบตอการดําเนินชีวิตธุรกิจและการอุตสาหกรรมในเมืองไว การสูรบในแบบที่เกวาราตองการนี้ เกวาราตองฝกผูชํานาญเตรียมไวตั้งแตตอนตน ๆ ของการตอสูและถาการฝกทําไดอยางถูกตองสมบูรณดี

Page 40: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

40กําลังคนเหลานี้ก็สามารถปฏิบัติการเปนผลสําเร็จ ไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น อันเปนผลใหสงวนทั้งเวลาและชีวิตของประชาชาติได เนื่องจากเหตุที่เมืองใหญในทวีปลาตินอเมริกาสวนมากมักแออัดดวยประชากรและคนวางงาน ดังนั้นจึงเปนที่ตระหนักดีถึงอันตรายที่แฝงเรนจากการรวมสมาคมกันของชาวไรชาวนาจากชนบทกับผูใชแรงงานในเขตชานเมืองซึ่งตางก็มีความครุนแคนในใจอยูดวยกัน ในขณะที่เกวารามั่นใจวาการทําสงครามกองโจรในเขตชานเมืองยอมบังเกิดผลไดอยางแทจริง เขาจึงเชื่อวา ในตัวเมืองนั่นแหละจะเปน "สุสานฝงพวกปฏิวัติ" เองละ ดังนั้นเขาจึงไมสนับสนุนใหใชการทําสงครามกองโจรในเมือง ขั้นท่ีสาม : ขั้นการรุกปฏิวัติ (Stage of Revolutionary Offensive) แมเกวาราประสบความสําเร็จในคิวบา โดยไมตองเปลี่ยนวิธีการทําสงครามจากแบบกองโจรไปสูการสงครามตามแบบก็ตามที แตเขาก็ยอมรับเกณฑความตองการขั้นตอนดังกลาวนี้ เขามีความรูสึกวา การหันเหสงครามกองโจรไปสูสงครามประจําที่ในตอนทายที่สุดนั้น ยอมไมอาจเลี่ยงไดดวยความประสงคเพื่อ " ทําลายลางกองทัพขาศึก และสถาบันทั้งส้ินที่สนับสนุนระบอบการปกครองดั้งเดิมนั้น " ดวยเหตุนี้เอง วัตถุประสงคที่ เกวารา และเดบเร ไดเขียนบันทึกขึ้นไวก็เพื่อแพรสงครามปฏิวัติใหลุกลามไปทั่วดินแดนทวีปลาตินอเมริกา แตอีกไมกี่ปตอมาหลังจากความสําเร็จในคิวบา เกวารา ไดพยายามนําเอาทฤษฎีของ "แกนกองโจร" (guerrilla foco) ไปใชใหบังเกิดผล โดยหวังใหเปนศูนยกลางชักจูงความสนับสนุนจากประชาชน การปรากฎวากรณีของประเทศโบลิเวียนี้ แนวคิดของเกวาราไมประสบผลสําเร็จ แกนกลางติดอาวุธขนาดเล็กของเขาไมอาจระดมชาวไรชาวนาโบลิเวียได จากการวิเคราะหการปฏิบัติการในโบลิเวียของเกวาราคราวนี้ ไดพบขอผิดพลาดที่กอความลมเหลวหลายประการดวยกันคือ 1. พรรคคอมมิวนิสตแหงโบลิเวีย ไมยินยอมใหเกวาราเปนผู " บงการ " จึงไมสนับสนุน 2. เกวารา ประสบความลมเหลวในการจัดการติดตอประชาชนชาวโบลิเวียไดอยางสมเหตุสมผล ฉะนั้นการเอาชนะใหไดรับความสนับสนุนจากชาวไรชาวนาโบลิเวียจึงไมสําเร็จ 3. เขาสิ้นหวังในการตั้งพื้นฐานที่มั่นอยางพอเพียง เพื่อยืนหยัดการดําเนินงานของเขาใหคงอยูได 4. เขาประสบความลมเหลวในการจัดตั้งระบบขาวกรองที่มีประสิทธิภาพในขั้นการเตรียมการ 5. เชประสบความลมเหลวในงานที่ทําสําเร็จไดอยางเปนขั้นตอน และจากการริลงมือกอการดวยความรีบรอนกอนที่เขาจะมีความพรอม

Page 41: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

41 โดยสวนรวมแลว เกวารา มิไดประเมิน สถานการณของโบลิเวียอยางเพียงพอ หรือกลาวไดวา เขาไมไดยึดอยูกับหลักทฤษฎีสงครามปฏิวัติของเขาเองไวใหมั่นคง การปกิบัติการมิใชจะลงเอยดวยความลมเหลวเพียงอยางเดียวเทานั้น แตมันมีราคาเทากับลมปราณเฮือกสุดทายของเกวาราดวย สวนเดบเร ก็ถูกตํารวจจับกุมตัวไดในโบลิเวีย ในขณะที่เกวารากําลังพยายามเริ่มงานปฏิวัติขึ้นในประเทศนั้น เขาถูกตัดสินลงโทษจําคุก 30 ป ในขอหารวมสมคบในการกอการของกองโจรเดบเรรับโทษไดเพียง 3 ป ก็ถูกปลอยตัว หลังจากที่ไดรับการปลดปลอย เดบเรก็ยังคงดําเนินงานปฏิวัติของเขาอยูตอไป จากบทความในวารสารนิวยอคไทมประจําเดือนกุมภาพันธ ค.ศ.1972 กลาวรายงานวา เดบเรไดเปลี่ยนทัศนะดั้งเดิมที่หวังพึ่งลัทธิกอการรายและสงครามกองโจรหันไปสนับสนุนแผนงานอยางเดียวกันกับที่แอลเลนเด (Mr.allende) ไดดําเนินงานอยูในประเทศชิลี (Chile) แอลเลนเด ซ่ึงมีหัวเปนนักสังคมนิยมผูหนึ่ง กําลังอุทิศความพยายามเพื่อลมลางระบบลัทธินายทุน ดวยการตอสูโดยปราศจากอาวุธ และดําเนินงานอยางสันติในกรอบประเพณีของระบอบประชาธิปไตย และตามลัทธิอันชอบธรรมของพลเมืองดีทั่วไป เดบเร ไดรวบรวมความคิดเหลานี้เขียนไวในหนังสือเลมใหมของเขาที่มีช่ือวา "แพนธิออน" แหงนิวยอรก (Pantheon Books of New York) ไดพิมพออกเผยแพรในประเทศอังกฤษเมื่อไมนานมานี้เอง ในเมื่อเดบเรเชื่อและสงเสริมวิธีการอยางนี้ก็เทากับวาเขาไดเปลี่ยนทัศนะเกา ๆ ตามที่เคยเขียนแสดงไวอยางหนามือกลับเปนหลังมือทีเดียว แตอยางไรก็ดี การเปลี่ยนความคิดนี้ ก็มิไดกอผลกระทบแตประการใดตอแผนยุทธศาสตรการปฏิวัติของชาวคิวบา หรือแนวความคิดของคนเหลานั้นแมจะเคยเปนโฆษกคนสําคัญในครั้งกระโนนแตประการใดเลย โดยสรุปความแลว เกวารา และเดบเรไดเขียนยุทธศาสตรของเขาขึ้นเปนแนวทางการปฏิวัติในถ่ินประเทศ ซ่ึงตามความคิดดั้งเดิมของเขา ก็คือในดินแดนทวีปลาตินอเมริกาเทานั้น ความคิดของเขาทั้งสองที่เกี่ยวกับสงครามกองโจร ก็คลายกันมากกับความคิดของเมาเซตุง แตอยางไรก็ตาม เกวาราและเดบเร เนนหนักเรื่อง " แกนทางทหาร " (military foco) มากกวา "แกนการเมือง" (Political foco) ซ่ึงเทากับเปนการเพิ่มมิติอีกอยางหนึ่งใหแกศิลปของการดําเนินสงครามกองโจร และการสงครามกอความไมสงบดวย

การกอความไมสงบในเมือง (URBAN INSURGENCY)

ในอดีตที่ผานมา การทําสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบในประเทศตาง ๆ ทั่วโลกนั้นมักเพงเล็งกระทํากันในพื้นที่ชนบทเปนสวนใหญ โดยมุงระดมกําลังจากชาวไรชาวนาผูประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม เมื่อไมนานมานี้เองดวยความกาวหนาและความเจริญดานธุรกิจการอุตสาหกรรมเปนสาเหตุใหประชาชนจากชนบทพากันหล่ังไหลเขาสูตัวเมืองและเขตชานเมือง และดวยการยายถ่ินที่

Page 42: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

42อยูของฝูงชนจํานวนอยางมโหฬารที่เกิดขึ้นใน ระยะเวลาสั้น ๆ นี้ไดกอใหเกิดภาวะคนวางงานและสภาพความเปนอยูที่เสื่อมทราม จนกลายเปนแหลงเสื่อมโทรมทั่วไป จากสภาพการณเหลานี้ไดสรางความไมสมหวังและความไมพอใจขึ้นในหมูประชากรเกิดเปนแหลงหนึ่งที่เหมาะตอการปลูกฝง และโฆษณาชวนเชื่อแนวทางการปฏิวัติ ประกอบกับการที่ชาวไรชาวนาประเทศทวีปลาตินอเมริกาประสบความลมเหลวในการกอการจลาจลเมื่อรอบทศวรรษป ค.ศ.1960 นั้น สภาพการณในเขตเมืองที่เอื้ออํานวยเชนนี้ ทําใหผูกอการปฏิวัติทั้งหลายพากันเบนความสนใจจากพื้นที่ในชนบทไปสูในตัวเมือง การหันเหความสนในพื้นที่การปฏิวัตินี้ไดกอกําเนิดเปนมิติใหมของสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบขึ้นนั้นก็คือ การกอความไมสงบในเมือง การกอความไมสงบในเมือง แทจริงแลวมิใชของใหม เพราะมีตัวอยางพฤติการณเชนนี้มาแลวอยางมากมายในประวัติศาสตร ดังตัวอยางเหตุการณที่ขึ้นชื่อของโลก เชน - การกอการจลาจลในเมือง ซ่ึงเลนินเปนผูชักนําขึ้นในประเทศรุสเซีย - การปฏิบัติการตอตานนาซีเยอรมันของพรรคใตดินฝร่ังเศส - การจลาจลที่ เกทโท กรุงวอรซอ เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 (Warsaw Ghetto Uprising of World War II) - การปฏิบัติการของกองทัพแหงสาธารณรัฐไอริช (Irish Republican Army) การหันเหความสําคัญจากชนบทไปสูเมืองซึ่งอาจเกิดขึ้นไดเสมอนี้ จึงเปนเรื่องที่ควรแกการจับตาดูไวอยางยิ่ง วัตถุประสงคของการกอความไมสงบในเมืองมีอยูหลายประการ ซ่ึงบางอยางก็เหมือนกันกับวัตถุประสงคของสงครามกองโจรในชนบทที่ไดเคยกลาวมากอนแลว วัตถุประสงคหลัก ๆ ก็ไดแก : - ชักจูงใหทหารเอาใจออกหาง ออนกําลังและขวัญเสีย - ระดมการสนับสนุนจากมวลชน - ลมลางรัฐบาลปจจุบัน โดยสวนใหญแลว การบรรลุสูวัตถุประสงคเหลานี้ ใชวาตองมาจากการกอความไมสงบในเมือง โดยเฉพาะแตเพียงอยางเดียวก็หาไม แตจะตองผสมผสานการรบทั้งในเมืองและในชนบทโดยเริ่มขึ้นพรอม ๆ กัน ตามขอสังเกตไวกอนหนานี้แลววา เจาตํารับสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบช้ันนําทั้งหลายไดเคยอางถึงวาใชการกอความไมสงบในเมืองนั้น เพื่อสนับสนุนการกอการในเขตชนบทนั่นเอง โดยความจริงแลว เกี๊ยบปฏิบัติการรุกในวันเทศกาลตรุษญวนเมื่อป ค.ศ.1968 นั้นก็เพื่อกอเหตุใหเกิดการจลาจลทั่วไปในเมืองขึ้นดวยวัตถุประสงคดังกลาวนี้

Page 43: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

43 เมื่อเร็ว ๆ นี้ ไดมีการพัฒนาทฤษฎีอันหนึ่งขึ้น ใหม คือ แนวคิดของการใชการกอความไมสงบในตัวเมืองใหมีบทบาทสําคัญยิ่งกวาจะใชเพียงสนับสนุนกิจกรรมอื่นเทานั้น เอกสารเลมใหม ๆ ในเรื่องเดียวกันนี้ ซ่ึงกลาวถึงทฤษฎีการกอความไมสงบในเมืองไว ไดแกเอกสารชื่อ "การลงมือทีละนอยของกองโจรในเมือง" (Minimanual of the Urban Guerrilla) ผูเขียนไดแก คาลอส มาริเกลลา (Carlos Marighella) ซ่ึงถูกฆาตายใน ซาน เปาโล ประเทศบราซิล (San Paulo, Brazil) เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ.1969 ในขณะนําขบวนการกอการปฏิวัติในเมือง ณ ประเทศแหงนั้น ขอเขียนของ มาริเกลลา จะเปนพื้นฐานเบื้องตนที่ควรยกขึ้นมาอภิปรายในเรื่องของการกอความไมสงบในเมือง ดังตอไปนี้ มาริเกลลา ไดวางทฤษฎีไววา สงครามปฏิวัติคือปรากฎการณเปนแบบลักษณะหลัก ๆ ออกมา 3 แบบ ดวยกัน คือ หนึ่ง : สงครามกองโจรในชนบท สอง : สงครามกองโจรในเมือง สาม : สงครามจิตวิทยา ขอเขียนสวนใหญของเขากลาวถึงเรื่องวิธีการของกองโจรในตัวเมือง และหลักทฤษฎีของเขาในเร่ืองนี้ แบงไวเปนขั้นตอนหลัก 3 ขั้น คือ ขั้นท่ีหนี่ง : ขั้นการริเร่ิม (initiation) ขั้นท่ีสอง : ขั้นการพิทักษ (maintenance) ขั้นท่ีสาม : ขั้นการสงครามตามแบบ (regular warfare) ขั้นท่ีหนึ่ง : ขั้นการริเร่ิม ขั้นการริเร่ิมซ่ึงเปนขั้นที่หนึ่งเปนเรื่องของการตั้งหนวยซ่ึงประกอบดวย " บุคคลผูที่ไดผานการฝกมาอยางดีเยี่ยม มีประสบการณมากที่สุด และยอมอุทิศตนเพื่อทําสงครามกองโจรในเขตตัวเมือง " มาริเกลลามองการกอความไมสงบในเมืองไกลเกินกวายุทธวิธีการตอตาน กลาวคือ สําหรับเขาแลวส่ิงนี้คือบัญญัติแหงความเชื่อถือแบบหนึ่ง (credo) หรือแนวทางชีวิต (a way of life) อันหนึ่งซ่ึงมีแกนแทเปนลัทธิอยางหนึ่ง ความคิดทํานองนี้คลายกับของเกวารามากทีเดียว และสอดคลองกับความคิดของมารคซและเลนินดวย มาริเกลลาเชื่อวา กลุมบุคคลที่ควรไดรับเลือกเขารวมเปนผูกอความไมสงบในเมืองมากที่สุด คือ พวกเยาวชนผูซ่ึง " ไมมีอะไรเลย " (have-nots) จะมีก็แตความไมสมหวังและจิตใจที่ครุนแคน พวกนี้หมายรวมไปถึงพวกกรรมกร นักศึกษา ปญญาชน พวกผูมีศรัทธาในศาสนาและกลุมสตรี

Page 44: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

44 คร้ันตั้งหนวยไดแลว งานที่ตองกระทําตอไป คือ การหาสมาชิกใหม การฝก การตั้งฐานสงกําลังบํารุง และการตั้งขายงานการขาวกรอง ฐานสงกําลังบํารุงที่กลาวถึงนี้ไดจากการเขาใชประโยชนจากที่เปนสมบัติของฝายรัฐบาล กลาวคือ โดย "การเขายึด" (expropriation operations) เอานั่นเอง สวนดานการฝกนั้นหมายรวมถึงกิจกรรมเพื่อพลังกายทุกแบบ เชน การพักแรม การไตเขา การพายเรือแขง การวายน้ํา และการลาสัตว เปนตน กิจกรรมอื่น ๆ ดังเชน การปฐมพยาบาล การฝกยิงของนักแมนปน และการขับขี่ยานพาหนะ ก็เปนเรื่องที่ตองเนนความสําคัญไวดวย คร้ันการฝกขั้นตนไดผลกาวหนาแลวก็ติดตามดวยการฝกหาความชํานาญตามหนาที่เฉพาะตัวบุคคลตอไป ขั้นท่ีสอง : ขั้นการพิทักษ คร้ันจํานวนผูรับการวฝกมีมากเพียงพอและตั้งฐานสงกําลังบํารุงไดอยางเหมาะสม กองโจรก็ขยายการปฏิบัติเขาสูขั้นตอนตอไป อันไดแก ขั้นการพิทักษ ระหวางขั้นการพิทักษ กองโจรในเมืองจะเขาตอสูกับกําลังฝายรัฐบาลดวยการปฏิบัติการอยางในสนามรบ และกอเหตุตามแบบลัทธิกอการราย กองโจรจะขยายการปฏิบัติการกอกวนและงานดานจิตวิทยาอยางหนักหนวงยิ่งขึ้น เพื่อกัดกรอนเสถียรภาพรัฐบาลและกองทหารของรัฐ ในขณะเดียวกันเพื่อใหไดรับการสนับสนุนจากมวลชนดวย นอกจากการปฏิบัติการตามรูปแบบกองโจรอยางปกติ เชน การซุมยิง การจูโจม และการกอวินาศกรรมแลว กองโจรยังไดใชความพยายามยุยงใหคนงานพรอมใจกันหยุดงาน หรือขัดขวางการเขาทํางาน ปลดปลอยนักโทษ หนีทัพ ลักพาตัว และใหมีการโฆษณาชวนเชื่อติดอาวุธทุกแบบ ความพยายามทั้งหลายแหลเหลานี้ กระทําขึ้นดวยความมุงหมายเพื่อบอนทําลายรัฐบาล และจุดชนวนใหมวลชนกอเหตุความไมสงบขึ้นเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝายกองโจรอยางเต็มกําลัง ในเหตุการณทุกครั้ง กองโจรจะทําอยางระมัดระวังตนเพื่อใหดูเสมือนหนึ่งเปนการเรียกรองตามความตองการของมวลชนโดยแทจริง มาริเกลลา จัดตั้งกลุมผูกอการในเมืองเปนกลุมเล็ก ๆ ขนาดมาตราฐานกลุมหนึ่งมีจํานวนไมเกินไปกวา 4 หรือ 5 คน และเรียกชื่อวา "กลุมยิง" (firing group) สมาชิกในกลุมผูมีฝมือเดนสุด จะไดถืออาวุธปนกลเบา ที่เหลือจะใชปนพก ปนลูกปรายหรือลูกระเบิดมือ " กลุมยิง " จํานวนสองกลุมหรือมากกวาจะรวมกันจัดเปน "ชุดยิง" (firing team) ขึ้น และรวมทํางานดวยกันโดยประสานงานกันและอยูในการบังคับบัญชาของบุคคลคนหนึ่งหรือสองคน มาริเกลลา เชื่อมั่นในวิธีการกระจายอํานาจการควบคุม และสงเสริมให " กลุมยิง " แตละกลุมตองวางแผนอยูเสมอ และสนับสนุนใหดําเนินการปฏิบัติตามลําพังดวยตัวเองโดยตลอด เมื่อใด " หนวย

Page 45: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

45เบื้องบนตามทําเนียบรบ "(strategic command) เปนผูวางแผนงานเหลานั้นขึ้น ก็เปดโอกาสใหกลุมยิงเลือกปฏิบัติไดตามลําดับความเรงดวนที่จําเปน เขายืนยันวา การแยกอํานาจการควบคุมยอมทําใหการปฏิบัติงานของกองโจรยิ่งเพิ่มจํานวนครั้งมากขึ้น ซ่ึงจะชวยใหสามารถบอนทําลายกองกําลังรัฐบาลและเรงใหรัฐบาลถึงกาลอวสานตไดโดยเร็ว การปฏิบัติการของกองโจร ตามทฤษฎีของ มาริเกลลา แบงเปน 6 ระยะ คือ หนึ่ง : การลาดตระเวนหาขาว สอง : การวางแผน สาม : การฝกซอม สี่ : การปฏิบัติ (ดวยความเร็ว) หา : การถอนตัว หก : การขยายผล (การโฆษณาชวนเชื่อติดอาวุธ) มาริเกลลา ไดเขียนอธิบายไว ดังนี้ การลาดตระเวนหาขาว การลาดตระเวนหาขาวอาจกระทําไดหลายวิธี เชน การจารกรรม การตรวจการณ และการศึกษาพื้นที่ปฏิบัติการ และโดยการจัดเตรียมตารางกําหนดรายการ กลาวคือ มาริเกลลา เนนหนักในเรื่องการลาดตระเวน และตารางเวลาเดินทาง เขาเชื่อวา ถาปราศจากขั้นตอนนี้แลว ก็เสมือนหนึ่ง " เดินอยูในทามกลางความมืด " การวางแผน การวางแผนยอมเกี่ยวของถึงการคัดเลือกกําลังคน และเครื่องมือแบบของการปฏิบัติการ การใชเสนทางเคลื่อนยายและกําหนดการปฏิบัติการ เพื่อใหบรรลุสูความสําเร็จ การวางแผนจะตองกระทําในรายละเอียด การวางแผนใชงานยานยนตเปนเรื่องที่ควรเอาใจใสเปนเรื่องแรก การฝกซอม การฝกซอมตองดําเนินไปดวยความกระตือรือลนใหเหมือนกับการปฏิบัติจริง อยางไรก็ตาม การฝก กระทําโดยไมใชอาวุธ และเก็บเปนความลับยิ่งยวด ทุกคนตองไดรับการฝกอบรมใหเกิดความคุนเคยในเรื่อง สถานที่ ชาวเมือง เสนทางถอย จังหวะโอกาส เปนตน การปฏิบัติ การปฏิบัติตองเปนไปอยางฉับพลัน ส่ิงที่ควรสนใจใหมากไดแกการประสานงานระหวาง "กลุมยิง" การใชยานยนตนับวามีบทบาทสําคัญตอการปฏิบัติการตามแผนยุทธการ เพราะฉะนั้นจะตองนําเอาปจจัยนี้เขามารวมพิจารณาในรายละเอียดดวยเสมอในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติการ การถอนตัว

Page 46: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

46 การถอนตัว "กลุมยิง" ยอมอาศัยการยึด ปฏิบัติตามกําหนดการที่ไดจัดเตรียมไวกอนแลว การใชเครื่องกีดขวางและปดกั้นถนน และหนวยรักษาความปลอดภัยทั้งหลายดวย มาริเกลลา ใหลําดับความสําคัญของขั้นการถอนตัวมากยิ่งกวาขั้นการปฏิบัติงาน เขาจึงย้ําไววา ในขั้นการวางแผนนั้นจําตองทํากันอยางครบถวนโดยตองมีรายละเอียดกําหนดไวในโอกาสที่การปฏิบัติอาจประสบความลมเหลวได แผนการถอนตัวควรกลาวถึงเรื่องตาง ๆ ดังเชนการกระจายกําลังคน การกําจัดรองรอยและการชวยเหลือผูบาดเจ็บ การขยายผล การขยายผลของการรบ คือ การโฆษณาชวนเชื่อติดอาวุธ และทํา "สงครามประสาท" (war of nerve) ตลอดขั้นการวางผน และขั้นการปฏิบัติมีส่ิงที่พังระลึกถึงอยูโดยจะละเวนเสียมิได คือ - การรักษาความลับ - การจูโจม - ความรอบรูถึงลักษณะภูมิประเทศ - ความเร็ว และความคลองตัว - การขาวกรอง และ - ขีดความสามารถในการตัดสินใจอยางถูกตอง เม่ือเผชิญกับสิ่งท่ีมิไดคาดฝนไวกอน มาริเกลลาไดกําหนดวัตถุประสงคของการปฏิบัติงานของกองโจรในเมืองไวหลายประการ ดังนี้ 1. คุกคามจะกออันตรายตอสภาพเศรษฐกิจของประเทศ 2. บีบบังคับกําลังฝายทหารใหจําตองใชบทบาทการตั้งรับ 3. บังคับใหกองกําลังรัฐบาลตองกระจายกําลัง 4. แสดงขอพิสูจนใหเห็นถึงความแข็งแกรงความแนวแน และการยืนหยัดตอสูของกองโจรเพื่อเปนกําลังใจใหบรรดาผูที่รูสึกไมพอใจรัฐใหหันมาสนับสนุนกองโจร 5. กีดกันกองกําลังรัฐบาล มิใหเคล่ือนยายเขาสูใจกลางของประเทศ โดยบีบบังคับใหตองเผชิญหนาอยูกับกองโจรในพื้นที่ชนบท 6. หลีกเลี่ยงการสูรบซึ่งหนา และการรบแตกหัก 7. ประกันความมั่นใจไดวากองโจรในเมืองมีเสรีในเกณฑสูงสุด ในการดําเนินกลยุทธและปฏิบัติการโดยหันมาใชการปฏิวัติแบบติดอาวุธได ขั้นท่ีสาม : ขั้นการสงครามตามแบบ

Page 47: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

47 ขณะที่ผูการกอการในเมือง กําลังปฏิบัติการใน ตัวเมืองอยูนั้น กองโจรในชนบทก็จะตั้งหนวยงานใตดิน(infrastructure) เปนหนวยแกนเล็ก ๆ เร่ิมปฏิบัติการขึ้นในพื้นที่ชนบท คร้ันถึงเวลาอันสมควร ก็เร่ิมเขาสูขั้นการทําสงครามตามแบบในเรื่องนี้ มาริเกลลายืนยันวากองโจรในชนบทคือ " สวนที่ไดรับการกําหนดมอบใหมีหนาที่รบแตกหักในสงครามปฏิวัติ" ทฤษฎีของมาริเกลลา มุงคิดสรางวิกฤติการณทางการเมืองขึ้น ดวยการกอเหตุการณรุนแรง เพื่อบังคับรัฐบาลใหปฏิบัติการโตตอบตอมวลชนสถานการณเชนนี้ ยอมสรางความรูสึกแคนเคืองขึ้นในหมูประชาชนเปนเหตุใหประชาชนพากันตอสูขัดขวางกองทัพและรัฐบาล คุณคาอันดีเดนของยุทธศาสตรนี้ เปนที่ทราบกันไดโดยชัด และพอที่จะยืนยันไดวาการกอความไมสงบในเมืองสามารถใชเปนบทบาทของการกอการปฏิวัติได ควรสังเกตไวดวยวา การกอการในเมืองมีทั้งขอดีและขอเสียตอกลุมผูกอความไมสงบ ขอดีก็มีเหมือนกันกับของกองโจรในชนบทนั่นเอง คือ - มีลักษณะของการจูโจม - คลองตัว - ความเร็ว - การขาวสาร และการขาวกรอง - การเลือกเปาหมาย สวนขอเสียมีดังนี้ - มีจุดออนตอการแทรกซึม และการเอาความลับไปเปดเผยโดยคนทรยศ และโดยสายลับ - ฝายรัฐบาลมีความคุนเคยและรูจักสภาพภูมิประเทศ และประชาชนของตนดีพอ ๆ กันกับที่กลุมกอการคุนเคยและรูจัก - ความยากในการกอตั้งและรักษา "พื้นที่ฐานที่มั่น" - ขีดความสามารถที่ฝายรัฐบาลมี แตกลุมกองโจรในเมืองไมมี คือ การรวมกําลังและการเขายึดครองพื้นที่หนึ่งใดโดยเฉพาะ นักบันทึกทางวงการทหารไดแสดงความเห็นเรื่องขีดความสามารถของการกอความไมสงบในเมืองไวตางทัศนะกัน โค-วัง เมอิ (Ko-Wang Mei) ไดเคยเขียนไววา "การใชเมืองเปนฐานที่มั่นยอมไมอาจทําไดเลยไมวาจะชั่วขณะหนึ่งใดก็ตาม" สวน บี.เอช.ลิดเดล ฮาท (B.H.Liddel Hart) มีความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้วา "พื้นที่ในเมืองใหทั้งคุณประโยชนและอุปสรรคไปดวยพรอม ๆ กัน แตเมื่อเปรียบเทียบกันแลว นาจะขัดขวางการปฏิบัติงานของกองโจรมากกวา แมจะเปนฐานที่เหมาะสําหรับตอสูลมลางระบอบการปกครองก็ตาม "

Page 48: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

48 การกอความไมสงบในเมือง จะเปนผลชี้ขาด อันสุดทายของบุคคลผูเปนหัวหนาปฏิวัติ หรือไมนั้นไมใชสาระสําคัญเสียแลว เพราะปรากฎชัดแลววา การกอสงครามรูปแบบนี้ อาจเปนชนวนรายแรงที่ ทําใหวงสังคมตกอยูในภยันตราย กอความยุงยากทางเศรษฐกิจ การเมือง สามารถสั่นคลอนฐานะรัฐบาลผูบริหารประเทศได อยางนอยที่สุด การรวมการกอการจลาจลในเมืองกับในชนบทที่ไดวางแผนมาดีแลว ยอมสามารถกอปญหาใหแกรัฐบาลของประเทศดอยพัฒนาที่กําลังพยายามสรางสรรคความเจริญ และการอุตสาหกิจของประเทศอยางรายแรงได สถานการณแบบนี้ก็อาจเกิดขึ้นไดในสังคมของประเทศมหาอํานาจอุตสาหกรรมไดเชนกัน

บทสรุป บทความทั้งหมดที่กลาวมาแลว ก็คือ ความพยายามของการสืบสาวราวเรื่องอันเปนวิวัฒนาการของหลักยุทธศาสตรและศิลปแหงการใชประโยชนสงครามกองโจร และสงครามกอความไมสงบ ดวยความมุงหมายเพื่อพิสูจนใหเห็นถึงแกนสาร ซ่ึงเปนหัวใจสําคัญที่ปรมาจารยเจาตํารับชั้นนําทั้งหลายนิยมยึดถือ ในตอนตนเรื่อง จะสังเกตเห็นวา ความคิดการทําสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบนี้ มีมานับเวลาเนิ่นนานมาแลว อยางไรก็ดี ก็ไมเคยปรากฎวามีผูใดจะพยายามคิดเขียนเปนหลักการทางยุทธศาสตรขึ้นไว เพื่อใหสามารถนําเอาสงครามประเภทนี้ไปใชไดอยางมีประสิทธิผล จนกระทั่งถึงสมัยของเคลาเซวิทซ และก็เคลาเซวิทซนี้แหละเปนผูช้ีถึงสภาพการณที่เปนปจจัยจําเปนตอการทํา "สงครามประชาชน " ใหบรรลุความสําเร็จได เขาอธิบายเพิ่มเติมวา แมยุทธศาสตรทางทหารของสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบจะแตกตางไปจากยุทธศาสตรทหารของสงครามตามแบบก็ตามที แตความมุงประสงคของยุทธศาสตรแตละแบบก็ไมตางกันเลย นั่นคือ การบรรลุสูเปาหมายทางการเมืองโดยใชอํานาจบังคับ ตอมา เลนิน ไดเผยแพรความคิดทางการเมืองของเคลาเซวิทซ และพัฒนาแนวความคิด " การจัดตั้ง" (organization) ขึ้น ลักษณะของการจัดตั้งนี้เปนไปในรูปแบบของคณะ "พรรค" (party) เปนองคกรช้ีนําใหกอการจลาจลขึ้นในเขตเมือง เพื่อลมลางรัฐบาลปจจุบัน และยึดอํานาจมาเปนของ ""พรรค" ในการนี้อาจนําเอาลัทธิกอการราย (terrorism) และการโฆษณาชวนเชื่อ (propaganda) มาชวยเสริมงานกอการจลาจลนี้ดวย เลนินมิไดหยุดอยูเพียงแคนี้ เขาสนับสนุนวาไมสมควรหยุดยั้งความตั้งใจอันเด็ดเดี่ยวนี้ แตจะตองเผยแพรเพื่อครองโลกใหจงได เกือบจะเปนเวลาเดียวกันกับขณะที่เลนินกําลังนําเอาทฤษฎีของเคลาเซวิทซมาประยุกตใชในขอบขายทางการเมืองอยูนั้นลอเรนซก็นําไปใชในขอบเขตดานการทหาร กลาวคือการทําสงครามกองโจรดวยคุณลักษณะของความคลองตัว ความรวดเร็วการจูโจม

Page 49: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

49พรอมกับเนนดานจิตวิทยาสงครามกองโจร ความคิดของลอเรนซเชนนี้ไดสืบทอดใชกันตลอดมานับเปนแรมป และก็ยังมีผลกระทบอยูแมตราบเทาทุกวันนี้ จึงกลาวไดวา เลนินประสบความสําเร็จในดานของการเมือง สวนลอเรนซในดานการทหาร แตสําหรับเมาเซตุงแลวเขาผูนี้คือปรมาจารยผูประมวลแผนยุทธศาสตรอันหลักแหลมขึ้นอีกอยางหนึ่งโดยการรวมแนวคิดทางทหารและแนวคิดทางการเมืองเขาดวยกันเปนหลัก นับตั้งแตเร่ิมงานทีเดียว เมาไดรับความสําเร็จในการทําสงครามปฏิวัติซ่ึงมีพื้นฐานการสนับสนุนจากเขตชนบท แนวความคิดของเขาจึงประกอบดวยการตั้งพื้นที่ฐานที่มั่น กําหนดขั้นตอนของสงคราม และการสนับสนุนจากภายนอกประเทศ และในขั้นสุดทายของสงครามปฏิวัติ ก็จะตองเตรียมหาโอกาสเปลี่ยนรูปแบบของสงครามกองโจรไปเปนสงครามเคลื่อนที่ เมามิไดเพิ่มเติมแนวคิดเหลานี้เพื่อทําสงครามปฏิวัติแตเพียงอยางเดียว แตไดพัฒนายุทธวิธีของสงครามกองโจรขึ้นอยางพิถีพิถันดวย ในไมชาไมนานหลักยุทธศาสตรตามแนวคดของเมาก็เปนที่ยอมรับกันทั่วไป นักกอการปฏิวัติทั้งหลายไดนําไปศึกษาดัดแปลง และเจริญรอยตามกันทั่วทุกมุมโลก โวเงียนเกี๊ยบ เปนสาวกคนหนึ่งที่ยอมรับนับถือแนวคิดของเมาเซตุง เกี๊ยบไดดัดแปลงหลักทฤษฎีของเมาใหเหมาะสมตอสภาพความเปนจริงของประเทศเวียดนาม แนวคิดของเขาผูกพันอยูกับความสําคัญของปจจัย เร่ืองสถานการณระหวางประเทศ การสนับสนุนจากภายนอกปะเทศ การผสมผสานการใชกําลังกองโจรกับกองกําลังประจําการตามแบบอยางเหมาะเจาะ และการตกลงใจอยางระมัดระวังที่จะเปลี่ยนรูปสงครามกองโจรไปเปนสงครามเคลื่อนที่ แนวคิดของเกี๊ยบเหลานี้ ยังจะคงเปนสวนปรุงแตงศิลปของการทําสงครามปฏิวัติไดตลอดไป เกวารา และเดบเรก็เปนพวกหนึ่งซ่ึงมีศรัทธาตอแนวความคิด (ทางทหาร) การทําสงครามกองโจรของเมาเซตุง แตสําหรับงานดานการเมืองและการจัดตั้งแลว ทั้งสองคนนี้มีความคิดเห็นแตกตางไปจากความคิดของเมา บุคคลทั้งสองไดกอกําเนิด "แกนกองโจร" (guerrilla foco)ขึ้น และยืนกรานวาพลังทางการเมืองและทางการทหารจะตองรวมกันขึ้นเปนอันหนึ่งอันเดียว โดยเนนใหความสําคัญแกพลังอํานาจทางทหารเปนอันดับแรก ลักษณะความคิดที่เปลี่ยนใหมนี้สวนใหญมุงเพื่อใชเปนแนวทางการปฏิวัติที่กระทําในดินแดนทวีปลาตินอเมริกาเปนหลัก เมื่อไมนานมานี้เอง แนวคิดการกอความไมสงบในเมือง ไดเร่ิมทวีบทบาทความสําคัญยิ่งขึ้น การเล็งเห็นถึงความสําคัญดังกลาวนี้ มีสาเหตุหลักเนื่องมาจาก การที่กลุมมวลชนจากชนบทไดพากันหล่ังไหลยายถ่ินฐานเขามาตั้งหลักแหลงในเมืองใหญ และเหตุแหงความลมเหลวของการทําสงครามกองโจรในชนบทหลายแหงหลายกรณี ยุทธศาสตรของสงครามกองโจรในเมืองนี้ จะประสบความสําเร็จ หรือ ลมเหลวอยางใดนั้น เปนเร่ืองที่สมควรเฝาดูกันตอไป

Page 50: 1. กล าวทั่วไป · 2 - สงครามกองโจร (guerrilla warfare) การเรียกชื่อสงครามดังกล าวในลั

50 ดังที่ไดบรรยายมาโดยตลอดนี้ จึงเห็นไดวา โอกาสความไดเปรียบจากการใชวิธีการตอสูดวยสงความกองโจร และสงครามกอความไมสงบนั้นมีอยูอยางมากมาย ถาสามารถจัดดําเนินงานอยางเหมาะสม สงครามนี้อาจกอความพินาศใหแกรัฐไดทั้งในดานการเมือง เศรษฐกิจ จิตวิทยา และดานการทหารของรัฐ และก็เปนที่ตระหนักกันดีวา "กําลังหลัก" (main forces) ในการสูรบของกองโจรจะขาดการชวยเหลือเสียมิได หนทางที่ใชตอบโตสงครามนี้จึงมีอยางกวางขวางมากมาย วิธีหนึ่งที่ใชไดผลก็คืองานดานจิตวิทยา สงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบนี้ สามารถนําไปใชอยางมีประสิทธิผลไดโดยแนนอน แตก็มิไดหมายความวาจะอยูยงคงกระพันจนทําลายไมได เพราะพวกกองโจรเองมีทั้งปญหาขอจํากัดและอุปสรรคนานัปการ กองโจรจะตองออกปฏิบัติการอยางตอเนื่องภายใตสภาวการณทางจิตใจ และรางกายที่ตองทนทุกขทรมานและเหนื่อยยาก กองโจรไมอาจรบเผชิญหนากับกําลังประจําการตามแบบที่มีจํานวนเหนือกวา และไมคิดจะเขาสูรบเพื่อเอาชัยชนะดวย และในทายที่สุดสงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบ อาจดําเนินไปไดตามหลักการพื้นฐานประการตาง ๆ แตจะเปนผลสําเร็จก็ตอเมื่อไดนําเอาหลักเกณฑเหลานั้นมาจัดการพัฒนา ประยุกตใหเหมาะสมตามสถานการณในแตละพื้นที่เสียกอน สงครามกองโจรและสงครามกอความไมสงบ จะยังคงมีใหเห็นกันอยูตอไปในอนาคตขางหนา การณเชนนี้สวนใหญจะขึ้นอยูกับผลสําเร็จของการกําหนดยุทธศาสตรตอตาน (success of conterstrategies) ของอีกฝายหนึ่ง อยางไรก็ตาม ส่ิงหนึ่งที่แนนอนอันหนึ่งก็คือ ถาไมนําหลักและวิธีการเหลานั้นมาศึกษาใหรูแจงเห็นจริงกันแลว ยุทธศาสตรเพื่อการตอตานนั้นก็ไมอาจบรรลุถึงซ่ึงความสําเร็จได